ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม

เป็นรูปแบบเครื่องประดับที่เกิดขึ้นตั้งแต่มนุษย์เริ่มรู้จักเดินทางไปยังถิ่นอื่น ได้เห็นความแตกต่างระหว่างรูปแบบที่ตนไม่เคยเห็น นักออกแบบเครื่องประดับหลายยุคได้นำมาเป็นแรงบันดาลใจ ตั้งแต่ดินแดนที่ใกล้บ้านเรือนเคียงไปจนถึงดินแดนที่คาดคะเนไม่ได้ มักเป็นรูปแบบที่สร้างชื่อเสียงให้กับนักออกแบบมาหลายชื่อ นอกจากแรงบันดาลใจแล้ว วิธีกระบวนการผลิต หรือแนวคิดทางด้านวัตถุดิบ ได้เป็นสิ่งแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันด้วย ทำให้เกิดร่วมสมัยของรูปแบบหลายพื้นที่ หรือจัดเป็นการขยายรูปแบบไปยังดินแดนอื่นๆ ได้

จากวิวัฒนาการในการพัฒนาการออกแบบศิลปะเครื่องประดับโดยรวม ครั้งเมื่อสังคมดั้งเดิมมีลักษณะความเป็นเอกลักษณ์ จึงทำให้สังคมมนุษย์มีความแตกต่างกัน ตั้งแต่ทางกายภาพ ทางภูมิอากาศ จนสภาพทางสังคมและวัฒนธรรม โลกได้แบ่งเป็นลักษณะตะวันตกและตะวันออก มีลักษณะดังกล่าวที่แตกต่างสูง โดยเฉพาะสังคมประเทศไทยและตะวันตกที่มีความแตกต่างกันเริ่มจากที่มีความแตกต่างกันมากจนมาถึงปัจจุบันที่มีความแตกต่างเบาบางลง เริ่มมีความเหมือนบางประการที่สังคมเข้าใจร่วมกัน มีวิถีชีวิตบางประการใกล้เคียงกัน หรือเรียกกันว่ามีความเป็นสากลที่สามารถเข้าใจซึ่งกันและกันมากขึ้น รวมทั้งความงามของเครื่องประดับ ที่เข้าใจร่วมกันได้มากขึ้น มีความแตกต่างกันบ้างทางด้านรสนิยมและวัฒนธรรมทางสังคม จึงทำให้รูปแบบเครื่องประดับที่ปรากฏอยู่นั้น มีทั้งรูปแบบไทยและรูปแบบตะวันตก นอกจากนี้ยังมีการกำหนดคุณลักษณะ หรือการกำหนด trend เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางการออกแบบเครื่องประดับให้มีลักษณะในทิศทางเดียวกันทั้งโลกอีกด้วยเช่นกัน

ดังนั้นการออกแบบเครื่องประดับจึงมีลักษณะของรูปแบบหลายรูปแบบ สามารถเกิดขึ้นได้ตามความต้องการของสังคมในแต่ละยุดสมัย รวมทั้งการออกแบบเครื่องประดับที่นำประวัติศาสตร์ศิลป์และการออกแบบศิลปะเครื่องประดับมาใช้ในการนำเสนอแรงบันดาลใจ ที่นักออกแบบเครื่องประดับหลายยุคสมัยได้นำกระบวนการดังกล่าวมาใช้กันอย่างต่อเนื่อง นอกจากความรู้ที่ได้รับ ยังสามารถนำลักษณะเด่นของแต่ละช่วงสมัยมาออกแบบเครื่องประดับได้เป็นอย่างดี หรือได้เห็นแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับของนักออกแบบเครื่องประดับที่มีชื่อเสียงว่าประสบความสำเร็จในการออกแบบเครื่องประดับได้อย่างไร ซึ่งอาจมาจากหลาทิศทาง เช่น จากความชาญฉลาด ความคิดสร้างสรรค์ ความอดทน จังหวะที่เหมาะสม หรือพรสวรรค์บางประการ เป็นต้น

 

ลักษณะต้นแบบโบราณ
ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ
ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่
ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ
ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)
ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง
ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่
ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)
ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)
ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)
ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)
ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)
ยุค Princes
ยุควัฒนธรรม La Tene
ยุคขยายอาณาจักร
ยุคอิทธิพลของนักรบ
ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)
ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์
ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง
ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)
ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)
นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini
การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม
ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1
ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)
การประดิษฐ์ตกแต่ง
ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค
ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค
ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)
ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)
ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)
ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19
ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม
นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany
ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930
นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940
บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990
ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)
ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ
ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

ข้อเขียน-บทความ »

» จินตนา แก้วขาว กราบเธอที่ดวงใจ
» ทะริด ตะนาวศรี คนไทยที่ถูกลืม
» ปู่เย็น ณ สะพานลำใย แห่งลุ่มแม่น้ำเพชรบุรี

» จอมยุทธ แห่งบ้านจอมยุทธ (รวมงานเขียน)
» ฉายเดี่ยว (รวมงานเขียน)
» งูเขียว หางบอบช้ำ (รวมงานเขียน)

» ตีหัวเข้าบ้าน ตะคอกโลก ตีหัวหมา
» ผายลมนี้มีผลย้อนหลัง
» ได้แต่หวังว่า เราจะอยู่ร่วมกันได้บนโลกที่เปรียบเสมือนบ้านของเราใบนี้ ด้วยความรู้สึกที่ดีประดุจดั่งกินข้าวจากหม้อเดียวกัน

» ขอเป็นตาแก่ขี้บ่นในหัวใจเธอ
» เมื่อคนขับรถปลอมตัวไปเล่นหุ้น (บันทึกการเล่นสด)

นิยาย-เรื่องสั้น »

» ตำนานบันลือโลก
» บันทึกทรราชย์
» ผมเกือบได้เป็นนักแต่งเพลงชื่อดังเสียแล้ว
» ชีวิตเริ่มต้นอีกครั้งหลังเกษียณ
» แสนยานุภาพแห่งการรอคอย