ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง

เมื่อศาสนามีอิทธิพลอันยาวนาน ทำให้เครื่องประดับเกิดขึ้นเป็นจำนวนน้อย และผู้ที่เป็นช่างทองหรือนักทำเครื่องประดับคือ บาทหลวง หรือพระในศาสนาคริสต์ ทำให้รูปแบบของเครื่องประดับมีลักษณะของไม้กางเขนและเรื่องราวเกี่ยวกับพระผู้เป็นเจ้า และอยู่ในโบสถ์เป็นส่วนมาก บาทหลวงหรือพระเป็นผู้กำหนดเครื่องประดับเรื่อยมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน จึงเรียกในช่วงนี้ว่า ยุคกลาง หรือ ยุคมืด

ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลางอยู่ในช่วงปี ค.ศ.600 ถึง 1400 ช่วงยุคกลางมีการแต่งกายที่เรียบๆ มีเข็มกลัดติดอยู่บริเวณคอเท่านั้น มีหัวเข็มขัด มีแหวน ส่วนวัสดุที่ใช้มีงาช้าง นิล ปะการัง ไม้ หินอัญมณี และโลหะมีค่า เพื่อทำเป็นลูกประคำเพื่อใช้ในการสวดมนต์ในพิธี ส่วนสร้อยคอและการตกแต่งสิ่งของนำมาทำเป็นเครื่องรางตามความเชื่อที่อยู่เหนือธรรมชาติ หินที่ใช่ก็จะต้องมีพลังในการป้องกัน ตัวอย่างเช่น แอมิทิสจึงเป็นหินเพื่อป้องกันอาการเมาจากการดื่มแอลกอฮอล์ ปะการังเป็นสัญลักษณ์ของหัวใจ และมรดกเพื่อป้องกันโรคลมบ้าหมู คริสตัลเป็นสัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์ เป็นต้น

เครื่องประดับประเภทร้อยในยุคกลางนี้ยังคงเกี่ยวข้องกับเรื่องราวทางศาสนา มีการสวมใส่กันในหมู่ คริสเตียน วัตถุดิบส่วนใหญ่นิยมมาจากประเทศรัสเซีย เมื่อศาสนาเป็นหัวใจสำคัญของสังคมในยุคกลางนี้ เครื่องประดับประเภทร้อยที่มีความโดดเด่น เครื่องประดับที่เป็นเครื่องรางหรือสร้อยลูกประคำ

เครื่องประดับที่เป็นเครื่องราง หรือสร้อยลูกประคำ หมายถึงการใช้นิ้วมือในการสัมผัส และอีกส่วนเพื่อการสวดมนต์ รูปแบบที่เก่าแก่ที่สุดของยุโรปมัดด้วยหนังที่เย็บไว้เป็นปมเล็กๆ นอกจากนี้ยังมีแหวนกระดูกที่ทำจากปลาด้วย ต้นแบบของเครื่องประดับกลุ่มนี้คือ กลุ่มฮินดูนอกจากนี้ยังพบในกลุ่มชาวพุทธ ธิเบต จีน และญี่ปุ่น โดยการร้อยเมล็ด 108 เม็ด หมายถึงความเจริญของพุทธศาสนา กฎระเบียบและความยินดี ชาวคริสเตียนรู้จักครั้งแรกมาจากอาหรับเนื่องจากชาวมุสลิมได้เข้ามาบุกรุกในสเปนในศตวรรษที่แปด เกิดสัญลักษณ์ดอกไม้หรือดอกกุหลาบ และสวน ฮินดูชื่อ japamala คือ การท่องพึมพำ เป็นรูปกลีบดอกไม้ม้วน

ศาสนาพุทธ มีพระสงค์และผู้นับถือศาสนา ชาวโรมันคาร์ธอลิก มีคุณพ่อ ลูกชาย และพระเจ้าโฮลี่ ลูกปัดของชาวพุทธและฮินดูมี 108 เม็ด มุสลิม 99 เม็ด และชาวโรมันคาร์ธอลิกมี 150 เม็ด ความสำคัญอยู่ที่การจัด วัสดุจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้เกิดพลังในความเชื่อของภูตผี วิญญาณ ดังนั้นวัสดุจึงได้แก่ อาเกต เพื่อการศาสนาและเพื่อในการป้องกัน ปะการังแสดงถึงเลือดและดวงวิญญาณ

การสวดมนต์มีลักษณะเป็นวรจร ลูกปัดจึงเป็นทรงกลม ขนาดของวงจรจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กรู้ได้จากการเริ่มต้นและสิ้นสุดของการสวดมนต์ พระเจ้าคือศูนย์กลางของทุกสิ่ง การสวดมนต์จึงจำเป็นต้องมีคำพูด การเคลื่อนย้ายนิ้วมือและการใช้หูฟังของชาวตะวันออกผู้ที่สวดมนต์จะนับและมีการขยับมือหนึ่งข้าง ส่วนชาวตะวันตกจะถือไว้สองมือเป็นลักษณะขนานกัน ส่วนชาวฮินดูได้สวดมนต์ทุกๆ วัน โดยมีการพิมพ์ข้อความสองคำคือ ศิวะ และ วิษณุ

ส่วนชาวพุทธมีต้นแบบมาจากอินเดียเมื่อประมาณ 500 ปีก่อนคริสตศักราช ชาวธิเบตใช้ลูกปัดทั้งหมด 108 ลูก คนทั่วไปอยู่ที่จำนวน 30 หรือ 40 ลูก เพื่อการเข้าฌานและเพื่อบรรลุความรอบรู้ในสิ่งที่มองไม่เห็น ส่วนลูกปัดของชาวธิเบธที่มีราคาสูงที่สุดนั้นทำมาจากกระดูกของลามะ มีทั้งหมด 108 ลูกเช่นกัน โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มเท่ากับ 27 ลูก จุดต้นและจุดท้ายจะมาชนกัน เพื่อใช้นับรอบในการสวดมนต์ ลูกปัดลูกสุดท้ายจะเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นศาสนาพุทธ ส่วนชาวเกาหลีมีทั้งหมด 110 ลูก มีขนาดใหญ่ที่สุด 2 ลูก ลูกที่หนึ่งถูกตกแต่งด้วยเครื่องหมายสวัสติกะและเริ่มต้นที่เกลียวเชือก ส่วนอีกลูกหนึ่งจะอยู่ตรงกลาง ได้ถูกยกย่องว่าเป็นลูกประคำคลาสสิค

ชาวพุทธในประเทศญี่ปุ่นมีทั้งหมด 112 ลูก ศาสนาอิสลามมีจำนวนทั้งหมด 99 ลูก มีหนึ่งลูกเป็น iman หรือผู้นำ การนับลูกปัดทั้ง 99 ลูกนั้นคือพระเจ้าโฮลี่ ลูกที่หนึ่งร้อยหมายถึง ชื่อของพระเจ้า Allah รวมถึง tahmid หมายถึงการสรรเสริญต่อพระเจ้า และ tahlit พระเจ้าไม่มีทางตาย ลูกที่หนึ่งร้อยจะเป็นชื่อของพระเจ้า พระมูฮัมหมัดกล่าวไว้ว่า ทั้งเก้าสิบเก้าชื่อเป็นของพระเจ้า และการสวดมนต์กระทำเพื่อให้พวกเขาจะเข้าสู่สรวงสวรรค์ ผู้ซึ่งสวด tahmid หนึ่งร้อยครั้งในตอนเช้าและตอนเย็น พวกเขาจะได้พรจากพระเจ้า

ส่วนทางด้านโรมันคาร์ธอลิกมีลูกประคำทั้งหมด 150 ลูก เป็นของ Ave สำหรับผู้ที่จะสวดมนต์ Hail Mary ตามมาด้วย Paternoster (ลอร์ดจะเป็นผู้สวด) หมายถึง การมีชีวิตของพระเยซูและพระแม่แมรี่ ซึ่งเป็นความยินดีห้าประการ ความเสียใจห้าประการ และสิ่งลี้ลับอีกห้าประการ (Margaret L. Kaplan, 84-91)

 

ลักษณะต้นแบบโบราณ
ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ
ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่
ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ
ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)
ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง
ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่
ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)
ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)
ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)
ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)
ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)
ยุค Princes
ยุควัฒนธรรม La Tene
ยุคขยายอาณาจักร
ยุคอิทธิพลของนักรบ
ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)
ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์
ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง
ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)
ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)
นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini
การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม
ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1
ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)
การประดิษฐ์ตกแต่ง
ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค
ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค
ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)
ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)
ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)
ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19
ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม
นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany
ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930
นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940
บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990
ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)
ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ
ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

ข้อเขียน-บทความ »

» จินตนา แก้วขาว กราบเธอที่ดวงใจ
» ทะริด ตะนาวศรี คนไทยที่ถูกลืม
» ปู่เย็น ณ สะพานลำใย แห่งลุ่มแม่น้ำเพชรบุรี

» จอมยุทธ แห่งบ้านจอมยุทธ (รวมงานเขียน)
» ฉายเดี่ยว (รวมงานเขียน)
» งูเขียว หางบอบช้ำ (รวมงานเขียน)

» ตีหัวเข้าบ้าน ตะคอกโลก ตีหัวหมา
» ผายลมนี้มีผลย้อนหลัง
» ได้แต่หวังว่า เราจะอยู่ร่วมกันได้บนโลกที่เปรียบเสมือนบ้านของเราใบนี้ ด้วยความรู้สึกที่ดีประดุจดั่งกินข้าวจากหม้อเดียวกัน

» ขอเป็นตาแก่ขี้บ่นในหัวใจเธอ
» เมื่อคนขับรถปลอมตัวไปเล่นหุ้น (บันทึกการเล่นสด)

นิยาย-เรื่องสั้น »

» ตำนานบันลือโลก
» บันทึกทรราชย์
» ผมเกือบได้เป็นนักแต่งเพลงชื่อดังเสียแล้ว
» ชีวิตเริ่มต้นอีกครั้งหลังเกษียณ
» แสนยานุภาพแห่งการรอคอย