ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)
เป็นช่วงสมัยที่ยังคงอยู่ในช่วงยุคกลาง เนื่องจากมีระยะเวลาถึง 700 ปี จึงได้รวมศิลปะเครื่องประดับแบบโกธิคด้วยเช่นกัน แต่เป็นยุคกลางที่อยู่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14-15 เหตุการณ์ในยุคนี้ยังคงมีผลงานที่แน่นิ่ง เนื่องจากเป็นช่วงที่จักรวรรดิโรมันได้ล้มสลายลงไปและยังฟื้นฟูบูรณะบ้านเมืองไม่ได้ ยังคงเป็นสมัยแห่งการแตกแยกระหว่างฝ่ายอาณาจักรกับฝ่ายคริสตจักร ที่ยังคงมุ่งมั่นในการเอาผลประโยชน์กับชาติบ้านเมือง ศิลปกรรมต่างๆ จึงล้วนหยุดนิ่ง แต่ในภาวะที่หยุดนิ่ง ก็ได้มีศิลปะที่โดดเด่นแสดงถึงวัฒนธรรมที่แฝงอยู่บนสงคราม ถึงแม้จะมีสภาพเพื่อศาสนา แต่ก็มีเอกลักษณ์เฉพาะของศิลปะแบบโกธิคได้อย่างน่ายกย่อง
ศิลปะที่โดดเด่นของโกธิคคือ การออกแบบสถาปัตยกรรมที่มีหลังค่า หน้าต่าง ประตูหรือ อื่นๆ เป็นทรงแหลม ซึ่งต่างจากสถาปัตยกรรมอื่นๆ ที่มีความโค้งมน โดยความแหลมมีความหมายที่ลึกซึ้งขึ้น ดังนั้นจึงหมายถึง การเดินทางไปยังสูงสุดสวรรค์ โดยออกแบบให้มีปลายแหลมเพื่อสร้างเส้นให้เกิดความรู้สึกพุ่งขึ้นไป จัดเป็นการออกแบบที่ดียิ่ง
นอกจากผลงานทางสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นแล้ว การออกแบบเครื่องประดับในสมัยโกธิคได้เริ่มต้นการออกแบบที่มีเทคนิคซับซ้อนมากขึ้น โดยมีการออกแบบเครื่องประดับแบบ Radial Balance หรือการจัดวางให้สมมาตรแบบมีจุดศูนย์กลางและแผ่รัศมีออกเป็นวงกลมเป็นส่วนใหญ่จัดแพทเทิร์นอย่างกลมกลืนกัน มักประดับด้วยไข่มุก นอกจากนี้ยังมีการฝังหินแบบ Crown หรือแบบมงกุฎหุ้มอัญมณีเจียระไนเบี้ยหลังเต่า มีการลงยาแบบ Bass Taille แต่ช่วงปลายของสมัยโกธิค การออกแบบเครื่องประดับนิยมการแกะสลักภาพบุคคลมากขึ้น จึงมีการออกแบบแบบสมมาตรซ้ายและขวาร่วมอยู่ด้วย
ลักษณะต้นแบบโบราณ
ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ
ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่
ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ
ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)
ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง
ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่
ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)
ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)
ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)
ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)
ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)
ยุค Princes
ยุควัฒนธรรม La Tene
ยุคขยายอาณาจักร
ยุคอิทธิพลของนักรบ
ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)
ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์
ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง
ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)
ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)
นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini
การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม
ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1
ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)
การประดิษฐ์ตกแต่ง
ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค
ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค
ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)
ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)
ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)
ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19
ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม
นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany
ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930
นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940
บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990
ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)
ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ
ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม