ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)

เครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 เกิดศิลปะเครื่องประดับที่สำคัญคือ ศิลปะเครื่องประบาร็อค โดยสมัยบาร็อคอยู่ในช่วงปี ค.ศ.1580-1750 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นช่วงสมัยของการแตกแยกทางด้านสังคม เนื่องจากคนชั้นกลางและคนระดับล่างได้รับการเอารัดเอาเปรียบมากเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ยังเป็นช่วงของการแตกแยกคริสตศาสนาระหว่างนิกายโรมันคาร์โธลิคและนิกายโปเตสแตนส์ จึงทำให้ผลงานทางด้านศิลปะหลายแขนงมีลักษณะของการต่อสู้การแสดงศรัทธา ของศาสนาและสังคมเป็นหลัก

แต่ในขณะเดียวกันในหมู่ชนชั้นสูงในภาวะวัตถุนิยม สนองตอบความต้องการความมั่งคั่งของตนเองได้อย่างยิ่งใหญ่ โดยเฉพาะในประเทศฝรั่งเศส เป็นประเทศที่โดดเด่นของศิลปะเครื่องประดับสมัยบาร็อค โดยเฉพาะความมั่งคั่งในพระราชวังแวร์ซายล์ ที่สร้างเมื่อปี ค.ศ.1661 สมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เป็นช่วงที่กำลังหลงใหลกับความงามของเครื่องประดับ และเป็นยุคของนักสะสมจากการเกิดเศรษฐีใหม่เป็นจำนวนมาก เพราะชนชั้นกลางหลายคนมีความมั่งคั่งร่ำรวยขึ้นเป็นผลมาจากฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ทำให้ชนชั้นสูงมีศักยภาพทางฐานะมากขึ้นจากการเก็บภาษีราษฎรที่เข้มข้น จึงจัดเป็นศตวรรษแห่งความร่ำรวยมากที่สุดสมัยหนึ่ง ทำให้เกิดภาวะการนิยมสะสมเครื่องประดับขึ้น

การออกแบบเครื่องประดับสมัยบาร็อคในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 17 นี้ มีรูปแบบและรูปทรงที่อ่อนนุ่ม พลิ้วไหว มีการแบ่งสัดส่วนของการออกแบบโดยแบ่งเป็นสี่ส่วนเรียกว่า ewer แต่การตกแต่งจะไม่มีการแบ่งสัดส่วนใดๆ ออกแบบให้เป็นไปตามความสวยงาม จึงทำให้ผลงานการออกแบบดูเหมือนไม่ไม่โครงสร้าง

แต่การออกแบบเครื่องประดับสมัยบาร็อคในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 17 นั้น มีลักษณะเป็นเอกลักษณ์เฉพาะสมัยบาร็อคมากขึ้น โดยการนำใบไม้มาประกอบรูปทรงค่อนข้างหนัก นอกจากนี้เครื่องประดับหลายชึ้นมีลักษณะเป็นชิ้นเดี่ยวหรือเส้นเดียว ดังนั้นการออกแบบเครื่องประดับสมัยบาร็อคจึงมี 4 ลักษณะหลักๆ ทั้งหมดดังต่อไปนี้

เครื่องประดับตกแต่งศีรษะ

ส่วนใหญ่เป็นการใช้รูปทรงแบบ spray form หรือรูปทรงการกระจายหรือการสะบัด นิยมนำมาประดับตกแต่งบริเวณศีรษะโดยทั่วไป เช่น กิ๊บหนีบผม เป็นต้น

ต่างหูกับจี้ห้อยคอ ส่วนใหญ่เป็นการใช้รูปแบบ pendeloque form หรือรูปทรงการมัดเข้าด้วยกันให้อยู่เป็นศูนย์กลาง อาจจะเป็นลักษณะของการผูก การมัดของริบบิ้น

การร้อยไข่มุก เป็นการร้อยไข่มุกแบบเรียบง่าย แต่มีออกแบบให้ไข่มุกมีความโดดเด่น หรือมีการจัดเรียงให้มีความสวยงาม ส่วนมากเป็นไข่มุกร้อยปกติที่มีความยาวของการร้อยไข่มุกไม่เท่ากัน เป็นทั้งสร้อยคอ สังวาลและอื่นๆ

 

ลักษณะต้นแบบโบราณ
ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ
ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่
ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ
ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)
ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง
ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่
ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)
ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)
ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)
ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)
ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)
ยุค Princes
ยุควัฒนธรรม La Tene
ยุคขยายอาณาจักร
ยุคอิทธิพลของนักรบ
ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)
ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์
ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง
ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)
ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)
นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini
การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม
ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1
ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)
การประดิษฐ์ตกแต่ง
ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค
ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค
ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)
ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)
ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)
ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19
ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม
นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany
ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930
นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940
บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990
ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)
ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ
ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

ข้อเขียน-บทความ »

» จินตนา แก้วขาว กราบเธอที่ดวงใจ
» ทะริด ตะนาวศรี คนไทยที่ถูกลืม
» ปู่เย็น ณ สะพานลำใย แห่งลุ่มแม่น้ำเพชรบุรี

» จอมยุทธ แห่งบ้านจอมยุทธ (รวมงานเขียน)
» ฉายเดี่ยว (รวมงานเขียน)
» งูเขียว หางบอบช้ำ (รวมงานเขียน)

» ตีหัวเข้าบ้าน ตะคอกโลก ตีหัวหมา
» ผายลมนี้มีผลย้อนหลัง
» ได้แต่หวังว่า เราจะอยู่ร่วมกันได้บนโลกที่เปรียบเสมือนบ้านของเราใบนี้ ด้วยความรู้สึกที่ดีประดุจดั่งกินข้าวจากหม้อเดียวกัน

» ขอเป็นตาแก่ขี้บ่นในหัวใจเธอ
» เมื่อคนขับรถปลอมตัวไปเล่นหุ้น (บันทึกการเล่นสด)

นิยาย-เรื่องสั้น »

» ตำนานบันลือโลก
» บันทึกทรราชย์
» ผมเกือบได้เป็นนักแต่งเพลงชื่อดังเสียแล้ว
» ชีวิตเริ่มต้นอีกครั้งหลังเกษียณ
» แสนยานุภาพแห่งการรอคอย