ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)
โจเซฟินเป็นสตรีที่อยู่ในยุคการปฏิวัติประเทศฝรั่งเศสซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี นอกจากความเป็นสตรีที่มีความสวยงามแล้ว ยังเป็นผู้นำทางด้านแฟชั่นทั้งการแต่งกายและเครื่องประดับอีกด้วยโดยเฉพาะทรงอภิเษกสมรสกับ นโปเลียน โบนาปาด ถึงแม้เป็นการแต่งงานครั้งที่ 2 ของพระองค์ก็ยิ่งทำให้พระองค์เป็นผู้นำทางด้านเครื่องประดับมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะหลังจากที่นโปเลียนได้เป็นพระจักรพรรดิ เครื่องประดับสมัยพระจักรพรรดิ์นโปเลียนกับโจเซฟิน ซึ่งทั้งสองพระองค์ต้องการที่จะฟื้นฟูการค้าเครื่องประดับให้มีความยิ่งใหญ่และหรูหราที่สุด จึงได้เริ่มการค้าเครื่องประดับที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสขึ้น โดยพระองค์ได้เริ่มต้นจากการประมูลขายเครื่องประดับราชวงศ์ของฝรั่งเศสจำนวนหลายชิ้น รวมทั้งของพระองค์เองด้วยเช่นกัน บางชิ้นนำมาจัดใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสม
รูปแบบส่วนใหญ่ได้นำศิลปะแบบกรีกและโรมันมาเป็นแรงบันดาลใจเป็นหลัก ส่วนใหญ่เน้นเพชรนำมาออกแบบในรูปแบบสมมาตร ผลงานการออกแบบเครื่องประดับจึงมีลักษณะโปร่ง เห็นการฝังอัญมณีที่ชัดเจน นิยมใช้เพชรล้อมรอบ ส่วนอัญมณีจะอยู่ในตำแหน่งที่มองเห็นที่ชัดเจนหรือเป็นจุดเด่น โดยเฉพาะเครื่องประดับของพระจักรพรรดินีโจเซฟิน ที่แสดงถึงความหรูหราโดยเฉพาะมงกุฎที่มีการใช้เพชรเป็นจำนวนมาก และผู้ที่ผลิตเครื่องประดับให้คือ Nitot & File
ในระหว่างปี ค.ศ.1800-1820 เครื่องประดับรูปแบบนโปเลียนจัดเป็นแฟชั่นเครื่องประดับที่พัฒนารูปแบบมาจากช่างยุค Louis Seize โดยให้มีความคลาสสิคมากยิ่งขึ้น หรือนำมาเป็นแรงบันดาลใจ แต่งมงกุฎและรัดเกล้าเป็นเครื่องประดับที่มีสีสันมากที่สุดในช่วงนี้ ทั้งการนำเพชรมาเป็นองค์ประกอบ การลงยาและอัญมณีมีค่าที่มีสีสันต่างๆ มากมาย นอกจากนี้ยังนำรูปแบบคาเมโอมาเป็นแรงบันดาลใจผสมรูปแบบเข้าร่วมด้วย
เครื่องประดับในปี ค.ศ.1830 เป็นยุคเครื่องประดับที่มีสีสันมาก หลากหลายไปด้ยหินกึ่งมีค่าและเป็นยุคที่ร่ำรวยทองคำมหาศาล เป็นช่วงที่เทคนิค filigree หรือการเดินเส้นลวดโลหะเป็นที่นิยม มีการใช้ลวดโลหะบนงานเครื่องประดับหลายชิ้น จึงทำให้เครื่องประดับมีการแสดงพื้นผิวมากส่วนใหญ่เป็นพื้นผิวของพืชพรรณธรรมชาติ มีความเป็นธรรมชาติ เป็นเครื่องประดับที่มีความคิดที่ซับซ้อน ให้แสงมาก หลายชิ้นแสดงถึงการถอดหรือแยกชิ้นส่วนได้
ลักษณะต้นแบบโบราณ
ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ
ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่
ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ
ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)
ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง
ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่
ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)
ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)
ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)
ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)
ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)
ยุค Princes
ยุควัฒนธรรม La Tene
ยุคขยายอาณาจักร
ยุคอิทธิพลของนักรบ
ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)
ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์
ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง
ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)
ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)
นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini
การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม
ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1
ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)
การประดิษฐ์ตกแต่ง
ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค
ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค
ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)
ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)
ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)
ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19
ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม
นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany
ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930
นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940
บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990
ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)
ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ
ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม