ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani
Fortunato Pio Castellani มีอายุอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.1794 ถึง 1865 อาศัยอยู่ที่โรม ประเทศอิตาลี เป็นช่างทองตั้งแต่อายุได้ 20 ปี โดยนาย Castellani ออกแบบเครื่องประดับประเภทเชิงศิลปะอยู่มาก ลูกค้าประจำเป็นกลุ่มเศรษฐีชาวอังกฤษที่เรียกว่า milord เข้ามาอุดหนุนอยู่เสมอ แต่ข้อบกพร่องของเขาคือ ทำงานล่าช้ามากและมีเวลาในการต้อนรับลูกค้าไม่เพียงพอ
นาย Castellani ประสบความสำเร็จในการค้าทางด้านเครื่องประดับหลายแห่ง เช่น กรุงโรม กรุงเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก เจนีวา ปารีสและกรุงลอนดอน เครื่องประดับในช่วงต้นมีความเป็นธรรมชาติและมักมีลายเซ็นคำว่า Cs ซึ่งเปนอักษรที่เป็นผลงานของCastellani เท่านั้น
ในช่วงปี ค.ศ.1820 ได้รับรางวัลชนะเลิศจากนักโบราณคดีชื่อ Michelangelo Caetani ต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของการเจรจาติดต่อนักสำคัญระหว่างยุโรปและอเมริกา จนในที่สุดธุรกิจได้เติบโตอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะเมื่อปี ค.ศ.1851 ลูกชายชื่อ Alessandro Castellani และ Augusto Castellani ได้ขยายรูปแบบงานเครื่องประดับที่เน้นไปในทิศทางเชิงโบราณอนุรักษ์ ผู้ที่เป็นแกนหลักคือนาย Alessandro ได้เรียนรู้ว่า หากจะสร้างผลงานชิ้นโบแดงได้ ต้องเรียนรู้ประวัติศาสตร์ศิลปะและการออกแบบที่มีอยู่ในโลกเสียก่อน จึงได้นำรูปแบบเครื่องประดับที่ยังหลงเหลืออยู่ของชาวอิตาสีและกรีกมาออกแบบใหม่
ในปี ค.ศ. 1856 ได้ถูกเนรเทศออกจากประเทศ จึงย้ายไปอยู่ที่เมืองปารีสเมื่อเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ.1860 ไม่นานนักเปิดโรงเรียนชื่อ Archaeological School of Jewelry ทำให้เป็นที่รู้จักกันดี จนต่อมาในปี ค.ศ.1862 ได้แสดงผลงานนิทรรศการเครื่องประดับโบราณที่ International Exhibition ที่กรุงลอนดอน โดยแสดงถึงความคลาสสิคของช่างทองของกรีกและอิทรัสกัน จนมาถึงช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 เครื่องประดับของ Castellani กลายเป็นศิลปะที่เกิดประโยชน์ในทางศาสนาเพิ่มมากขึ้น จึงกลายเป็นช่างทองแห่งยุค
ต่อมานาย Alessandro เป็นผู้สอนทางด้านประวัติศาสตร์และการผลิตเครื่องประดับให้กับกรุงปารีส ลอนดอน และเนเปิล โดยมิได้มีผลประโยชน์ใดๆ เข้าเกี่ยวข้อง หลังจากเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ.1883 ได้เสียชีวิตลง แต่ธุรกิจของครอบครัว Castellani ยังดำเนินต่อไปในนามเครื่องประดับชื่อ Castellani
นักออกแบบเครื่องประดับที่มีชื่อเสียงมากอีกคนหนึ่งคือ Carlo Giuliano เป็นนักออกแบบที่นิยมการออกแบบเครื่องประดับแนวศิลปะเชิงประวัติศาสตร์ด้วยเช่นกัน โดยสร้างความหรูหราทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษในรูปแบบของยุคคลาสสิค ยุคกลาง และเรอนาซองค์
ลักษณะต้นแบบโบราณ
ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ
ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่
ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ
ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)
ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง
ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่
ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)
ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)
ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)
ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)
ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)
ยุค Princes
ยุควัฒนธรรม La Tene
ยุคขยายอาณาจักร
ยุคอิทธิพลของนักรบ
ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)
ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์
ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง
ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)
ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)
นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini
การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม
ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1
ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)
การประดิษฐ์ตกแต่ง
ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค
ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค
ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)
ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)
ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)
ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19
ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม
นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany
ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930
นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940
บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990
ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)
ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ
ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม