ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม >>

เพลงไทย

หน้า 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13

เพลงบัวกลางบึง

คำร้อง แก้ว อัจฉริยะกุล ทำนอง เอื้อ สุนทรสนาน

อนาถเหลือล้ำบัวบานเหนือน้ำ อยู่ห่างคนลับตาอยู่จนกลางบึง
ได้แต่ชะเง้อละเมอรำพึงเจ้าอยู่ถึงกลางบึง ปล่อยให้ผึ้งเชยชม
แดดส่องผิวน้ำบัวพลอยหมองคล้ำ ด้วยแดดเผาผิวเจ้าก็เศร้าด้วยลม
ตกดึกน้ำน้อยนอนคอยคนชม เจ้าต้องคลุกโคลนตม กลีบที่บ่มโรยรา
บัวน้อยลอยอยู่กลางบึง ครั้นคนเอื้อมไม่ถึง มีฝูงผึ้งบินมา
อยากพักพิงบนหิ้งบูชา เขาไม่ปรารถนา แล้วจะว่าเขาแกล้ง
โธ่อยู่ไกลหนักหนา ดังซ่อนหลบตาแอบแฝง
หากปล่อยทิ้งไว้พอใจแมลง สิ้นกลิ่นสีโรยแรง แล้วคงเหี่ยวแห้งคาบึง

เพลง กรุงเทพฯ ราตรี
เพลง กลิ่นดอกไม้
เพลง กลิ่นราตรี
เพลง เกาะลอย
เพลง เกาะสีชัง
เพลง เขมรไทรโยค
เพลง งามชายหาด
เพลง ชาวดง
เพลง ดรุณบังเทิง
เพลง ดวงดาว
เพลง ดอกพุดตาน
เพลง ดอกไม้ถิ่นไทยงาม
เพลง ดาวล้อมเดือน
เพลง ตะวันยอแสง
เพลง ตาคลี
เพลง ถิ่นไทยงาม
เพลง ท่องทะเลทอง
เพลง ทะเลร่ำไห้
เพลง ธรรมชาติยามเย็น
เพลง ธารสวาท
เพลง นอนฝันไป
เพลง น่าเพลินใจ
เพลง น้ำเหนือบ่า
เพลง นี่แหละกรุงเทพฯ
เพลง บนลานลั่นทม
เพลง บัวกลางบึง
เพลง บัวตูมบัวบาน
เพลง บางปะกง
เพลง บุหงาภมร
เพลง ปาริชาติ

หน้า 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

» นิยาย-เรื่องสั้น
» ข้อเขียน-บทความ
» บทกวี
» สารคดี-ท่องเที่ยว

» การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบสังคมเป็นกระบวนการที่สมาชิกได้พัฒนาการกระทำระหว่างกันทางสังคมอย่างมีระเบียบ โดยสมาชิกส่วนรวมของสังคมได้ยอมรับเป็นแนวความประพฤติร่วมกัน

» การควบคุมทางสังคม
วิธีการและกระบวนการทั้งหมด ซึ่งกลุ่มหรือสังคมใช้ในการให้สมาชิกของสังคมปฏิบัติตามที่สังคมคาดหวัง

» ค่านิยมทางเพศ (Sexual Value)
หลักการพื้นฐานที่บุคคลยึดเป็นหลักในการปฏิบัติเพื่อดำเนินชีวิตซึ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยค่านิยมทางเพศของบุคคลเกิดจากการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ในสถาบันครอบครัว ระบบการศึกษา ประสบการณ์

» ลัทธิของค้านท์
ลัทธิที่ยึดมั่นในคุณธรรมหรือเหตุผลอย่างเคร่งครัด หรือ Moral Purism แปลว่า บริสุทธิ์นิยมทางศีลธรรม หรือบางทีก็เรียกว่า หน้าที่นิยม เพราะเน้นที่หน้าที่เป็นหลัก

» ประชุมพงศาวดาร
การศึกษาหาความรู้พงศาวดาร และตำนานเก่าย่อมถือว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งใน การศึกษาทั่วทุกประเทศ

» อปริหานิยธรรม 7
ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความไม่เสื่อม 7 ประการ ผู้ปฏิบัติ ธรรมนี้จะเป็นไปเพื่อความเจริญทั้งฝ่ายบ้านเมืองและฝ่ายสงฆ์

» จริยธรรม
จริยธรรมไม่แยกเด็ดขาดจากศีลธรรม แต่มีความหมายกว้างกว่าศีลธรรม