ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม >>

เพลงไทย

หน้า 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13

หน้า 9

เพลงอิเหนารำพรรณ

อิเหนาเอ๋ย กรรมแล้วเอยรักเจ้า ผิดหวัง เพราะรักเขาเพ้อคลั่ง ู เขาชังเมินหน้าพาอดสู

ขาดยอดชู้เชยชมตรมใจ ไหนจะอายผู้คน ทุกข์ใจทนหมองไหม้ หลงลมใครโอ้ใจบุษบา

เจ้าเปลี่ยนคู่พ้อ ไปชื่นเจ้าจรกา
โอ้แก้วตา ลมรักใคร พาลอยไป

หลงรักเขา มองหาเงาแล้วเศร้าหวั่นไหว รักหลงใหลเหมือนบ้า นิจจาลืมได้โอ้ใจหญิง

แม่งามพริ้งมีมนต์วาจา เหมือนอารมณ์บุษบา เหมือนพิมพาพิไล หลงลมใครโอ้ใจชื่นกมล

โอ้อกอิเหนาก็เปรียบตัวเราอับจน ใจกังวล คนรักมาเมินไปเอย

เพลง วังบัวบาน
เพลง วิญญาณรัก
เพลง สไบแพร
เพลง สามหัวใจ
เพลง สายลมว่าว
เพลง สายลมเหนือ
เพลง สิ้นรักสิ้นสุข
เพลง สิ้นสวาท
เพลง สุดฟากฟ้า
เพลง สุดสงวน
เพลง สุริยัน - จันทรา
เพลง เสียงกระซิบจากเกลียวคลื่น
เพลง เสียงกระซิบสั่ง
เพลง เสี่ยงรัก
เพลง เสียแรงรักใคร่
เพลง แสนวิโยค
เพลง แสนแสบ
เพลง หญิงก็มีหัวใจ
เพลง หนามชีวิต
เพลง หวงรัก
เพลง หากภาพเธอมีวิญญาณ
เพลง เหมือนไม่เคย
เพลง เหลืออาลัย
เพลง แหวนประดับก้อย
เพลง ให้ผมรักคุณเถิดนะ
เพลง อาลัยรัก
เพลง อิเหนารำพรรณ
เพลง โอ้ยอดรัก
เพลง แม่แตงร่มใบ
เพลง กินรีเล่นน้ำ

หน้า 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13

 

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

» นิยาย-เรื่องสั้น
» ข้อเขียน-บทความ
» บทกวี
» สารคดี-ท่องเที่ยว

» การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบสังคมเป็นกระบวนการที่สมาชิกได้พัฒนาการกระทำระหว่างกันทางสังคมอย่างมีระเบียบ โดยสมาชิกส่วนรวมของสังคมได้ยอมรับเป็นแนวความประพฤติร่วมกัน

» การควบคุมทางสังคม
วิธีการและกระบวนการทั้งหมด ซึ่งกลุ่มหรือสังคมใช้ในการให้สมาชิกของสังคมปฏิบัติตามที่สังคมคาดหวัง

» ค่านิยมทางเพศ (Sexual Value)
หลักการพื้นฐานที่บุคคลยึดเป็นหลักในการปฏิบัติเพื่อดำเนินชีวิตซึ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยค่านิยมทางเพศของบุคคลเกิดจากการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ในสถาบันครอบครัว ระบบการศึกษา ประสบการณ์

» ลัทธิของค้านท์
ลัทธิที่ยึดมั่นในคุณธรรมหรือเหตุผลอย่างเคร่งครัด หรือ Moral Purism แปลว่า บริสุทธิ์นิยมทางศีลธรรม หรือบางทีก็เรียกว่า หน้าที่นิยม เพราะเน้นที่หน้าที่เป็นหลัก

» ประชุมพงศาวดาร
การศึกษาหาความรู้พงศาวดาร และตำนานเก่าย่อมถือว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งใน การศึกษาทั่วทุกประเทศ

» อปริหานิยธรรม 7
ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความไม่เสื่อม 7 ประการ ผู้ปฏิบัติ ธรรมนี้จะเป็นไปเพื่อความเจริญทั้งฝ่ายบ้านเมืองและฝ่ายสงฆ์

» จริยธรรม
จริยธรรมไม่แยกเด็ดขาดจากศีลธรรม แต่มีความหมายกว้างกว่าศีลธรรม