ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม >>

เพลงไทย

หน้า 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13

หน้า 4

เพลงยากยิ่งสิ่งเดียว

คำร้อง แก้ว อัจฉริยะกุล ทำนอง เอื้อ สุนทรสนาน

จะเรียนจะร่ำจะทำอะไร เออ…ไม่ลำบาก
ยอดยากอยู่อยากเดียว เออ…เกี้ยวผู้หญิง
คำครูสุนทรภู่ กล่าวพาดพิง
ฉันไม่ท้วงติงเพราะว่าสมจริง เออ…ยิ่งสิ่งใด
ยิ่งตรองยิ่งเห็นเป็นเรื่องหนักใจ เออ…ให้อาวรณ์
แม่กงแม่กนจวบจนกบเกย เออ…เคยเรียนร่ำ
บากบั่นหมั่นท่องจำ ฮือ…ตามคำสอน
เรียนกันถึงโคลงดั้น ฮือ…กาพย์ ฉันท์ กลอน
ทุกบททุกตอนฉันไม่ร้าวรอน ฮือ…ไม่อับจน
แต่เรียนเรื่องรัก หนักในกมล เออ…จนปัญญา

เพลง ฟังดนตรีเถิดชื่นใจ
เพลง ฟ้ามิอาจกั้น
เพลง มิตรแห่งความดี
เพลง เมียจ๋า
เพลง เมื่อวานนี้
เพลง แม่นางนกขมิ้น
เพลง แม้พี่นี้จะขี้เมา
เพลง ยากยิ่งสิ่งเดียว
เพลง ยามจน
เพลง เย็นลมว่าว
เพลง เย้ยฟ้าท้าดิน
เพลง รักข้ามขอบฟ้า
เพลง รักที่ถูกลวง
เพลง รักปักใจ
เพลง รักเอย
เพลง รักเอ๋ยรักข้า
เพลง ลมหวน
เพลง ลาวครวญ
เพลง ลุ่มเจ้าพระยา
เพลง ลูกชาวนา
เพลง โลกนี้คือละคร
เพลง โลกหมุนเวียน
เพลง วังน้ำวน
เพลง วิวาห์น้ำตา
เพลง ศาสนารัก
เพลง สอนน้อง
เพลง สุขกันเถอะเรา
เพลง หงส์ทอง
เพลง หนามกุหลาบ
เพลง หนีนรก

หน้า 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

» นิยาย-เรื่องสั้น
» ข้อเขียน-บทความ
» บทกวี
» สารคดี-ท่องเที่ยว

» การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบสังคมเป็นกระบวนการที่สมาชิกได้พัฒนาการกระทำระหว่างกันทางสังคมอย่างมีระเบียบ โดยสมาชิกส่วนรวมของสังคมได้ยอมรับเป็นแนวความประพฤติร่วมกัน

» การควบคุมทางสังคม
วิธีการและกระบวนการทั้งหมด ซึ่งกลุ่มหรือสังคมใช้ในการให้สมาชิกของสังคมปฏิบัติตามที่สังคมคาดหวัง

» ค่านิยมทางเพศ (Sexual Value)
หลักการพื้นฐานที่บุคคลยึดเป็นหลักในการปฏิบัติเพื่อดำเนินชีวิตซึ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยค่านิยมทางเพศของบุคคลเกิดจากการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ในสถาบันครอบครัว ระบบการศึกษา ประสบการณ์

» ลัทธิของค้านท์
ลัทธิที่ยึดมั่นในคุณธรรมหรือเหตุผลอย่างเคร่งครัด หรือ Moral Purism แปลว่า บริสุทธิ์นิยมทางศีลธรรม หรือบางทีก็เรียกว่า หน้าที่นิยม เพราะเน้นที่หน้าที่เป็นหลัก

» ประชุมพงศาวดาร
การศึกษาหาความรู้พงศาวดาร และตำนานเก่าย่อมถือว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งใน การศึกษาทั่วทุกประเทศ

» อปริหานิยธรรม 7
ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความไม่เสื่อม 7 ประการ ผู้ปฏิบัติ ธรรมนี้จะเป็นไปเพื่อความเจริญทั้งฝ่ายบ้านเมืองและฝ่ายสงฆ์

» จริยธรรม
จริยธรรมไม่แยกเด็ดขาดจากศีลธรรม แต่มีความหมายกว้างกว่าศีลธรรม