ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ บุคคลสำคัญ ประเทศและทวีป >>
ประวัติการปฏิวัติรัฐประหารและกบฎ
ประวัติการปฏิวัติรัฐประหารและกบฎ ในประเทศไทย (2475 - 2534)
รัฐประหาร 20 ตุลาคม 2501
เป็นการปฏิวัติเงียบอีกครั้งหนึ่ง โดยจอมพลถนอม กิตติขจร ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอยู่ในขณะนั้น ลากออกจากตำแหน่ง ในขณะเดียวกันจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้น ได้ประกาศยึดอำนาจการปกครองประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากเกิดการขัดแย้งในพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล และมีการเรียกร้องผลประโยชน์หรือตำแหน่งหน้าที่ทางการเมือง เป็นเครื่องตอบแทนกันมาก คณะปฏิวัติได้ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญ ยกเลิกพระราชบัญญัติพรรคการเมือง และให้สภาผู้แทน และคณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลง
การปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475
รัฐประหาร 20 มิถุนายน 2476
กบฏบวชเดช 11 ตุลาคม 2476
กบฏนายสิบ 3 สิงหาคม 2478
กบฏพระยาทรงสุรเดช 29 มกราคม 2481
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490
กบฏแบ่งแยกดินแดน 28 กุมภาพันธ์ 2491
รัฐประหาร 6 เมษายน 2491
กบฏเสนาธิการ 1 ตุลาคม 2491
กบฏวังหลวง 26 มิถุนายน 2492
กบฏแมนฮัตตัน 29 มิถุนายน 2494
รัฐประหาร 29 พฤศจิกายน 2494
กบฏสันติภาพ 8 พฤศจิกายน 2497
รัฐประหาร 16 กันยายน 2500
รัฐประหาร 20 ตุลาคม 2501
รัฐประหาร 17 พฤศจิกายน 2514
ปฏิวัติโดยประชาชน 14 ตุลาคม 2516
ปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน 6 ตุลาคม 2519
รัฐประหาร 20 ตุลาคม 2520
กบฎ 26 มีนาคม 2520
กบฎ 1 เมษายน 2524
การก่อความไม่สงบ 9 กันยายน 2528
รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ 2534
***เอกสารอ้างอิง : ศาสตราจารย์ ดร.ลิขิต ธีรเวคิน, "การเมืองการปกครองไทยของไทย"