สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
1. อำนาจของชาติ
อำนาจของชาติ หมายถึง ความสามารถของชาติหนึ่งที่สามารถกระทำให้ชาติอื่นปฏิบัติตามในสิ่งที่ตนปรารถนา ในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนั้น อำนาจของชาติมีบทบาทและความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะประเทศที่มีอำนาจมากกว่าย่อมสามารถทำให้ประเทศที่มีอำนาจด้อยกว่ากระทำการต่างๆ ในสิ่งที่ประเทศด้อยอำนาจไม่ปรารถนาจะทำ ในขณะเดียวกันอำนาจของชาติก็เป็นหลักประกันในเรื่องความมั่นคงและความปลอดภัยของประชากรและของชาติตน
ปัจจัยแห่งอำนาจของชาติ
หลักเรื่องอำนาจ เป็นหลักเกณฑ์สำคัญในการศึกษาระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และมีความเชื่อว่าความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับการสร้างอำนาจของชาติและการใช้อำนาจของรัฐ ดังนั้นรัฐจะกระทำทุกอย่างเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว
อำนาจของชาติ
ปัจจัยแห่งอำนาจของชาติ
การกำหนดนโยบายต่างประเทศ
เครื่องมือในการดำเนินนโยบายต่างประเทศ
สาเหตุของการขัดแย้งระหว่างประเทศ
มาตรการแก้ไขความขัดแย้งระหว่างประเทศ