สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

 

กฎหมาย (Law)

       กฎหมายเป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญในสังคมมนุษย์ เพราะกฎหมายเป็นเครื่องมือในการควบคุมความประพฤติการปฏิบัติของมนุษย์ในสังคมให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย อันจะนำไปสู่ความสงบสุขและความยุติธรรม และกฎหมายยังต้องเกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนตายโดยเข้ามากำหนดสิทธิหน้าที่ของมนุษย์ให้เกิดให้มีขึ้นและยังเป็นเครื่องมือในการคุ้มครองป้องกันสิทธิเสรีภาพ และผลประโยชน์ของประชาชนอีกด้วย นอกจากนั้นกฎหมายยังเป็นเครื่องมือของรัฐบาลทุกประเทศในการใช้บริหารประเทศ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายของรัฐ แต่ในบทนี้มุ่งที่จะให้ผู้ศึกษาได้ศึกษาเฉพาะ พื้นฐานด้านกฎหมายจึงได้กล่าวถึงเฉพาะความหมายของกฎหมาย ความสำคัญของกฎหมาย หลักเกณฑ์และประเภทของกฎหมาย เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของกฎหมายในระดับสูงขึ้นไป

ความหมายของกฎหมาย
ความสำคัญของกฎหมาย
หลักเกณฑ์บางประการของการใช้กฎหมาย
ที่มาของกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

» นิยาย-เรื่องสั้น
» ข้อเขียน-บทความ
» บทกวี
» สารคดี-ท่องเที่ยว

» การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบสังคมเป็นกระบวนการที่สมาชิกได้พัฒนาการกระทำระหว่างกันทางสังคมอย่างมีระเบียบ โดยสมาชิกส่วนรวมของสังคมได้ยอมรับเป็นแนวความประพฤติร่วมกัน

» การควบคุมทางสังคม
วิธีการและกระบวนการทั้งหมด ซึ่งกลุ่มหรือสังคมใช้ในการให้สมาชิกของสังคมปฏิบัติตามที่สังคมคาดหวัง

» ค่านิยมทางเพศ (Sexual Value)
หลักการพื้นฐานที่บุคคลยึดเป็นหลักในการปฏิบัติเพื่อดำเนินชีวิตซึ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยค่านิยมทางเพศของบุคคลเกิดจากการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ในสถาบันครอบครัว ระบบการศึกษา ประสบการณ์

» ลัทธิของค้านท์
ลัทธิที่ยึดมั่นในคุณธรรมหรือเหตุผลอย่างเคร่งครัด หรือ Moral Purism แปลว่า บริสุทธิ์นิยมทางศีลธรรม หรือบางทีก็เรียกว่า หน้าที่นิยม เพราะเน้นที่หน้าที่เป็นหลัก

» ประชุมพงศาวดาร
การศึกษาหาความรู้พงศาวดาร และตำนานเก่าย่อมถือว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งใน การศึกษาทั่วทุกประเทศ

» อปริหานิยธรรม 7
ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความไม่เสื่อม 7 ประการ ผู้ปฏิบัติ ธรรมนี้จะเป็นไปเพื่อความเจริญทั้งฝ่ายบ้านเมืองและฝ่ายสงฆ์

» จริยธรรม
จริยธรรมไม่แยกเด็ดขาดจากศีลธรรม แต่มีความหมายกว้างกว่าศีลธรรม