สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
รัฐ (State)
การกำเนิดรัฐ (Origin of State)
1. ทฤษฎีเทวสิทธิ์ (The Theory of the Divine Origin of State)
ทฤษฎีนี้ถือว่าเป็นทฤษฎีเก่าแก่มากที่สุด แนวความคิดของทฤษฎีนี้ถือว่า พระเจ้าเป็นผู้ให้กำเนิดและสร้างรัฐขึ้นมา โดยเชื่อกันว่าผู้ปกครองสืบเชื้อสายมาจากพระเจ้า ในสมัยกลาง (Middle Age) มีผู้นับถือนิยมทฤษฎีนี้มาก แต่ก็มีการแก่งแย่งอำนาจกันระหว่างศาสนจักร คือ ต่างฝ่ายก็อ้างว่าตัวเองคือผู้ที่ได้รับอำนาจมาจากพระเจ้าโดยตรง แต่ไม่ว่าจะเชื่อว่าจักรพรรดิได้อำนาจมาโดยตรง หรือองค์สันตะปาปาได้อำนาจมาโดยตรง หรือโดยอ้อมก็ตามผลสุดท้ายก็คือ ความเชื่อว่าอำนาจการปกครองรัฐนั้นคืออำนาจของพระเจ้าเป็นผู้มอบให้ ส่วนสาระสำคัญของทฤษฎีเทวสิทธิ์นั้น คือ
1. ทฤษฎีนี้เชื่อว่า รัฐเกิดขึ้นจากเจตนาและการบันดาลของพระเจ้า
2. ทฤษฎีนี้เชื่อว่า การปกครองรัฐเป็นอำนาจของพระเจ้า
ผู้ปกครองรัฐทำหน้าที่เสมือนเป็นตัวแทนของพระเจ้าและได้รับอาณัติจากพระเจ้า
3. ทฤษฎีนี้เชื่อว่า ประชาชนในรัฐเป็นเพียงองค์ประกอบของรัฐเท่านั้น
มิใช่เป็นปัจจัยที่สำคัญของรัฐแต่อย่างไร
ฉะนั้นจะต้องเชื่อฟังเคารพผู้ปกครองรัฐโดยดุษฎี
การละเมิดอำนาจของผู้ปกครองรัฐจะมีโทษและเป็นบาป
- ทฤษฎีเทวสิทธิ์ (The Theory of the Divine Origin of State)
- ทฤษฎีสัญญาประชาคม (The Social Contract Theory)
- ทฤษฎีธรรมชาติ (The National Theory)
- ทฤษฎีพลกำลัง (The Force Theory)
- ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory)
องค์ประกอบของรัฐ
การกำเนิดรัฐ (Origin of State)
การรับรองรัฐ (Recognition)
รูปของรัฐ (Forms of The State)
รูปของรัฐบาล (Forms of Government)
หน้าที่ของรัฐ (Functions of The State)