สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
การเมืองการปกครอง
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ปัจจุบันนี้นักวิชาการให้ความสำคัญกับการศึกษาแขนงวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เพราะเป็นที่ยอมรับกันว่ารัฐจะสามารถธำรงความเป็นรัฐอย่างมีเกียรติในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้นั้น จำเป็นต้องใช้ศิลปะในการชักจูงใจให้รัฐอื่นๆ ปฏิบัติหรืองดเว้นปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ต้องการ อีกทั้งการศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจเพื่อนำมาใช้อธิบายเหตุการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งสามารถคาดคะเนความเป็นไปได้ที่จะพึงเกิดขึ้นในอนาคต
อำนาจของชาติ
ปัจจัยแห่งอำนาจของชาติ
การกำหนดนโยบายต่างประเทศ
เครื่องมือในการดำเนินนโยบายต่างประเทศ
สาเหตุของการขัดแย้งระหว่างประเทศ
มาตรการแก้ไขความขัดแย้งระหว่างประเทศ
- บรรณานุกรม
อานนท์ อาภาภิรม. 2545. รัฐศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.