เทคโนโลยี นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิศวกรรม เกษตรศาสตร์ >>
การตีราคารังไหม
การตีราคารังไหม เป็นระบบการกำหนดและบุ่งชี้ราคารังไหมของเกษตรกร แต่ละรายที่มีการเลี้ยงไหมเพื่อจำหน่ายรังไหมแก่โรงงานสาวไหมหรือบริษัทผู้รับ ซื้อรังไหม ในปัจจุบันได้มีภาคเอกชนประมาณ 15 แห่ง ที่ได้ดำเนินการซื้อรังไหม จากเกษตรกร และเพื่อก่อให้เกิดความยุติธรรมขึ้นมากที่สุดระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย จึงได้มีผู้แทนจากหน่วยงานราชการเข้าร่วมเป็นกรรมการในการรับซื้อ ายรัง และการตีราคารังไหม การตีราคารังไหมดังกล่าว เราจะใช้กับรังไหมพันธุ์ลูกผสม ต่างประเทศ (รังสีขาว) อย่างเดียวเท่านั้น
เอกสารคำแนะนำฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เกษตรกรผู้เลี้ยงไหมและผู้ที่สนใจ ได้ทราบถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบการกำหนด ราคารังไหม สูตรการคำนวณหาเปอร์เซนต์รังดี-รังเสีย ทั้งนี้เพื่อให้การตีราคา รังไหมเป็นไปอย่างถูกต้องและยุติธรรม
»
ความเป็นมา
»
หลักเกณฑ์ในการตีราคารังไหม
»
ขั้นตอนในการตีราคารังไหม
»
ปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบการกำหนดราคารังไหม
เอกสารอ้างอิง
- จรรยา ปั้นเหน่งเพชร. 2534. การตีราคารังไหม. ศูนย์วิจัยหม่อนไหมนครราชสีมา กรมวิชาการเกษตร (โรเนียว)
- วรพจน์ รักสังข์. 2535. รังไหม. ศูนย์วิจัยหม่อนไหมนครราชสีมา กรมวิชาการเกษตร (โรเนียว)
- Krishnaswami. S, et al 1972. Sericulture Manual 3-silk Reeling. Food and Agricuture Organization of the United Nations. 3-35
เอกสารเผยแพร่ คำแนะนำที่ 155 การตีราคารังไหม
ผลิตและเผยแพร่โดย : ฝ่ายเอกสารคำแนะนำ กองเกษตรสัมพันธ์
กรมส่งเสริมการเกษตร
เรียบเรียง : สมหญิง ชูประยูร กองส่งเสริมพืชสวน : พรทิพย์ สุคนธสิงห์
กองส่งเสริมพืชสวน
จัดทำ : อัญชลี พัดมีเทศ กองเกษตรสัมพันธ์