ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>
กรอบแนวคิดที่ใช้ในการตีความ
แนวคิดการตีความแบบโรแมนติคของชไลมาเคอร์
วิธีการตีความแบบบุคลาธิษฐาน (Allegorical Method)
เทพ กับอสูร ในคัมภีร์อเวสตะของอิหร่าน
เทวาสุรสงครามในคัมภีร์พระเวท
เทวาสุรสงคราในวรรณคดีบาลี
ทัศนะเกี่ยวกับเทวาสุรสงคราม
เนื้อหาของจันทิมสูตร และสุริยสูตร
จันทิมสูตร กับสุริยสูตร กับบริบททางสังคม
จันทิมสูตรและสุริยสูตร : ไม่ใช่การเสนอข้อเท็จจริงทางอภิปรัชญา
ราหูอมจันทร์/อาทิตย์ : การแสดงธรรมแบบบุคลาธิษฐาน
สรุปและเสนอแนะ
อ้างอิง
กรอบแนวคิดที่ใช้ในการตีความ
แนวคิดสำหรับตีความจันทิมสูตรและสุริยสูตร ผู้เขียนจะใช้แนวคิดหลัก ๆ 2 แนวคิด คือ ในตอนที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ของพระสูตรทั้งสองกับบริบทสังคมอินเดียสมัยโบราณ จะใช้แนวคิดการตีความแบบโรแมนติค ของ ชไลมาเคอร์ (Friedrich Schleiercacher) ส่วนแนวคิดที่ว่าด้วยการตีความเนื้อหาของพระสูตรทั้งสอง ผู้เขียนจะใช้แนวคิดแบบบุคลาธิษฐาน