สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
รัฐ (State)
การกำเนิดรัฐ (Origin of State)
รัฐเกิดขึ้นได้อย่างไร เป็นคำถามที่นักปราชญ์ทางรัฐศาสตร์ได้พยายามหาคำตอบมาเป็นเวลานานหลายศตวรรษแล้ว แต่ไม่สามารถให้คำตอบที่เป็นข้อยุติได้ ทั้งนี้เนื่องจากว่า การเกิดขึ้นของรัฐยังหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์และทางมนุษยวิทยามายืนยันได้ชัดเจน ฉะนั้นจึงทำให้เกิดนักปราชญ์ทางรัฐศาสตร์จำเป็นต้องใช้ข้อสมมติฐานเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษากำเนิดของรัฐไว้หลายทฤษฎี แต่ละทฤษฎีต่างก็มุ่งที่จะอธิบายถึงการกำเนิดรัฐต่าง ๆ กัน บางทฤษฎีอาจจะเป็นทฤษฎีที่ไม่น่าเชื่อ เพราะกาลสมัยเปลี่ยนแปลงไปการพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์และวิชามนุษยวิทยาได้เจริญก้าวหน้ามากขึ้น แต่ด้วยเหตุที่ความรู้ใหม่ ๆ ก็ไม่สามารถจะลบล้างความคิดความเชื่อเก่า ๆ ได้จึงจำเป็นที่จะต้องรับไว้ทั้งทฤษฎีเก่าและทฤษฎีใหม่ เพื่อเป็นหลักพื้นฐานในการศึกษาวิเคราะห์หาข้อมูลสรุปถึงการเกิดขึ้นของรับต่อไป และทฤษฎีดังกล่าวนั้นนักปราชญ์ทางรัฐศาสตร์ ได้ประมวลไว้ 5 ทฤษฎี คือ
- ทฤษฎีเทวสิทธิ์ (The Theory of the Divine Origin of State)
- ทฤษฎีสัญญาประชาคม (The Social Contract Theory)
- ทฤษฎีธรรมชาติ (The National Theory)
- ทฤษฎีพลกำลัง (The Force Theory)
- ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary Theory)
องค์ประกอบของรัฐ
การกำเนิดรัฐ (Origin of State)
การรับรองรัฐ (Recognition)
รูปของรัฐ (Forms of The State)
รูปของรัฐบาล (Forms of Government)
หน้าที่ของรัฐ (Functions of The State)