สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

สงครามเกาหลี

การปฏิบัติการของทหารเรือ

หลังจากที่ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ส่งทหารบกไปปฏิบัติการร่วมกับกองกำลังสหประชาชาติในสงครามเกาหลี เมื่อ 22 กันยายน 2493 แล้ว ต่อมาเมื่อ 29 กันยายน 2493 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ประกาศให้ส่งกำลังทหารเรือ และทหารอากาศไปร่วมปฏิบัติการในสงครามเกาหลี

การเตรียมการ

กองทัพเรือได้รับคำสั่งจากกระทรวงกลาโหมให้เตรียมเรือรบสำหรับเดินทางไปยังเกาหลีใต้ และกองทัพเรือได้มีคำสั่งเมื่อ 28 กันยายน 2493 ให้กองเรือยุทธการ จัดเรือหลวงประแส เรือหลวงบางปะกง และเรือหลวงสีชัง สำหรับลำเลียงกำลังพล และคุ้มกันขบวนเรือที่จะเดินทางไปเกาหลีใต้

ในวันที่ 13 ตุลาคม กองทัพเรือได้มีคำสั่งตั้งกองบังคับการหมู่เรือไปราชการเกาหลี (บก.หมู่เรือ)

16 ตุลาคม 2493 กระทรวงกลาโหมมีคำสั่งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินการปฏิบัติ โดยในส่วนของกองทัพเรือให้จัดเรือลำเลียง และคุ้มกันดังนี้

1 ให้เรือสินค้าเอกชน 1 ลำ เพื่อลำเลียงทหารส่วนแรกของกรมผสมที่ 21

2 ให้จัดเรือหลวงสีชัง ทำการลำเลียงส่วนหนึ่งของกรมผสมที่ 21 เจ้าหน้าที่หน่วยบรรเทาทุกข์สภากาชาดไทย เมื่อเสร็จภารกิจแล้ว ให้เป็นเรือลำเลียงประจำหน่วยทหารไทย ประจำเกาหลีหรือที่ญี่ปุ่นต่อไป

3 ให้จัดเรือหลวงประแสกับ เรือหลวงบางปะกง ทำหน้าที่คุ้มกันขบวนเรือ เมื่อหมดหน้าที่ให้เข้าร่วมปฏิบัติการยุทธตามที่กองกำลังสหประชาชาติเห็นสมควรต่อไป และมีฐานทัพเรืออยู่ที่ซาเซโบ

20 ตุลาคม 2493 กองทัพเรือได้มีคำสั่งให้เรือรบทั้งสามลำรวมขึ้นเป็นหมู่เรือเรียกว่า หมู่เรือปฏิบัติการร่วมกับสหประชาชาติ (มส.)

การเดินทางไปปฏิบัติการ

22 ตุลาคม 2493 เรือหลวงทั้งสามลำพร้อมด้วยเรือสินค้า เฮอร์ตาเมอร์สค์ ซึ่งทางราชการเช่ามาสำหรับลำเลียงทหารเดินทางไปเกาหลีใต้ ออกเดินทางจากท่าเรือกรุงเทพ ฯ คลองเตย ไปยังฐานทัพเรือสัตหีบแวะรับเสบียง น้ำจืด น้ำมันเชื้อเพลิง และอาวุธกระสุน และได้ออกเดินทาง เมื่อ 23 ตุลาคม 2493 ผ่านแหลมญวน ถึงเกาะโอกินาวา เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2493 เข้าจอดในอ่าวบัคเนอร์ (Buckner Bay) และได้ออกเดินทางต่อ เมื่อ 4 พฤศจิกายน 2493 ถึงท่าเรือปูซาน เมื่อวันที่ 7 เดือนเดียวกัน อีก 2 วันต่อมาก็เดินทางไปยังฐานทัพเรือซาเซโบ ประเทศญี่ปุ่น และได้มีการมอบเรือของไทยทั้งสามลำ ให้อยู่ในบังคับบัญชาของผู้บัญชาการกองเรือเฉพาะกิจที่ 95

กองกำลังทหารไทยในสงครามเกาหลี
การเตรียมการส่งกำลังทหารไปร่วมรบ
การปฏิบัติการในสมรภูมิเกาหลี
การถอนตัวจากกรุงเปียงยาง
การขึ้นสมทบกับกองพลน้อยที่ 28 ของอังกฤษ
การเคลื่อนที่เข้าหาเมืองชุนชอน และการเข้าตีเมืองวาซอน
การปรับปรุงกำลังทหารของไทย
การย้ายกำลังเข้ากรุงโซล และการเข้าตีเมืองอุยจองบู
การเจรจาเพื่อยุติสงคราม และสงบศึก
ผลที่ประเทศไทยได้รับจากสงครามเกาหลี
คำสดุดี แด่ทหารผู้เสียชีวิตในกรณีสงครามเกาหลี
การปฏิบัติของทหารบกผลัดที่ 2
การขึ้นประจำแนวต้านทานหลักเจมส์ทาวน์
การปฏิบัติของทหารบกผลัดที่ 3
การปฏิบัติการรบ ณ ที่มั่นตั้งรับแนวเจมส์ทาวน์ด้านเขาทีโบน
การปฏิบัติหน้าที่ในกองหนุนของกองพลที่ค่ายเคซี (Camp Cacy)
การปฏิบัติระหว่างเป็นกองหนุนของกองพลที่เมืองยอนชอน
การปฏิบัติการรบบนที่มั่นตั้งรับ แนวเจมส์ทาวน์ด้านเขาพอร์คชอป
การรบบนที่มั่นเขาพอร์คชอป ครั้งที่ 2
การรบบนที่มั่นเขาพอร์คชอป ครั้งที่ 3
การปฏิบัติการของทหารบกผลัดที่ 4
การปฏิบัติการบริเวณเขาเดอะฮุค และเขายิบรอลตาร์
การปฏิบัติการของทหารบกผลัดที่ 5
การปฏิบัติการรบที่บูเมอแรง
การปฏิบัติการของทหารบก ผลัดที่ 6
การปฏิบัติการของกองพันทหารไทย
การปฏิบัติการของทหารบกผลัดที่ 7 - 23
การปฏิบัติการของกองร้อยอิสระผลัดที่ 7 - 23
กองร้อยกองเกียรติยศประจำกองบัญชาการสหประชาชาติ
การปฏิบัติการของทหารเรือ
การจัดกำลังทางเรือของสหประชาชาติในสงครามเกาหลี
การปฏิบัติการของ มส.
การปฏิบัติการของเรือหลวงบางปะกง
การรับมอบเรือหลวงท่าจีน และเรือหลวงประแส
การปฏิบัติการของเรือหลวงท่าจีน
การปฏิบัติการของเรือหลวงประแส
การปฏิบัติการของทหารอากาศ
การจัดชุดพยาบาลทางอากาศ และการผลัดเปลี่ยน
การปฏิบัติงานของชุดพยาบาลทางอากาศ
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 1
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 2
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 3
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 4 - 17
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 18 - 24
การปฏิบัติของหน่วยบรรเทาทุกข์สภากาชาดไทย
เจ้าหน้าที่หน่วยแพทย์บรรเทาทุกข์สภากาชาดไทยรุ่นที่ 1 - 4
การปฏิบัติการของทหารไทยในสงครามเวียดนาม
เหตุการณ์ในเวียดนามก่อนเกิดสงคราม
การช่วยเหลือของฝ่ายโลกเสรี
การส่งทหารไปร่วมรบในสงครามเวียดนาม
กองบัญชาการกองกำลังทหารไทยในสาธารณรัฐเวียดนาม ผลัดที่ 1
กองบัญชาการกองกำลังทหารไทยฯ ผลัดที่ 2 - 5
สำนักงานผู้แทนทหารไทยในสาธารณรัฐเวียดนาม
กรมทหารอาสาสมัคร(กรม อสส.)
แผนการยุทธและการปฏิบัติการ
การปฏิบัติการรบที่ฟุกโถ(20 - 21 ธันวาคม 2510)
กองพลทหารอาสาสมัคร(พล.อสส.)
กองพลทหารอาสาสมัครผลัดที่ 1
การรบที่บินห์สัน (Binh Son)
การรบที่ล็อคอัน (Loc An)
คำชมเชยจากต่างประเทศ
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 1 ส่วนที่ 2
การรบที่เฟือกกาง (Phuoc Cang)
ยุทธการอัศวิน
ยุทธการวูล์ฟแพค 1,2 (Woltpack I,II)
ยุทธการเบ็นแคม (Ben Cam)
ยุทธการเฟือกเหงียน (Phuac Nguyen)
อิสริยาภรณ์ และเหรียญตราที่ได้รับ
กองพลทหาร อาสาสมัคร ที่ 2
พื้นที่การปฏิบัติการ การจัดกำลัง และการวางกำลัง
ยุทธการมิตรภาพ
ยุทธการสี่พยัคฆ์ (Opcration Tu Ho)
ยุทธการบางปู
ยุทธการ 234
ยุทธการซุยคา
ยุทธการคีย์แมน
ยุทธการทัมเทียน (Tham Thien)
ยุทธการสายฟ้าแลบ (Thunderbolt)
การผลัดเปลี่ยน และเดินทางกลับ
บทเรียนจากการรบ และการสูญเสีย
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 3
การถอนกำลังกลับประเทศไทย
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 3 ส่วนที่ 2
การปฏิบัติการรบของกองร้อยจู่โจม (15 - 18 เมาายน 2514)
การปฏิบัติการของชุดเพชฌฆาตสังหาร (17 - 18 สิงหาคม 2514)
อิสริยาภรณ์ และเหรียญตราที่ได้รับ
หน่วยเรือซีฮอร์ส
เรือหลวงพงัน
การปฏิบัติการระหว่าง ปี พ.ศ. 2510 - 2515
สรุปการปฏิบัติของหน่วยเรือซีฮอร์ส
หน่วยบินวิคตอรี
การลำเลียงขนส่งทางอากาศ 1,776 ภารกิจ
การยุติสงครามเวียดนาม
ยุทธศาสตร์เวียดนามเหนือ
การดำเนินการของเวียดนามเหนือ และเวียดกง
การเจรจาสันติภาพที่กรุงปารีส
สถานการณ์ในเวียดนามใต้ หลังการถอนกำลังฝ่ายโลกเสรี

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

» นิยาย-เรื่องสั้น
» ข้อเขียน-บทความ
» บทกวี
» สารคดี-ท่องเที่ยว

» การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบสังคมเป็นกระบวนการที่สมาชิกได้พัฒนาการกระทำระหว่างกันทางสังคมอย่างมีระเบียบ โดยสมาชิกส่วนรวมของสังคมได้ยอมรับเป็นแนวความประพฤติร่วมกัน

» การควบคุมทางสังคม
วิธีการและกระบวนการทั้งหมด ซึ่งกลุ่มหรือสังคมใช้ในการให้สมาชิกของสังคมปฏิบัติตามที่สังคมคาดหวัง

» ค่านิยมทางเพศ (Sexual Value)
หลักการพื้นฐานที่บุคคลยึดเป็นหลักในการปฏิบัติเพื่อดำเนินชีวิตซึ่งเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยค่านิยมทางเพศของบุคคลเกิดจากการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ในสถาบันครอบครัว ระบบการศึกษา ประสบการณ์

» ลัทธิของค้านท์
ลัทธิที่ยึดมั่นในคุณธรรมหรือเหตุผลอย่างเคร่งครัด หรือ Moral Purism แปลว่า บริสุทธิ์นิยมทางศีลธรรม หรือบางทีก็เรียกว่า หน้าที่นิยม เพราะเน้นที่หน้าที่เป็นหลัก

» ประชุมพงศาวดาร
การศึกษาหาความรู้พงศาวดาร และตำนานเก่าย่อมถือว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งใน การศึกษาทั่วทุกประเทศ

» อปริหานิยธรรม 7
ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความไม่เสื่อม 7 ประการ ผู้ปฏิบัติ ธรรมนี้จะเป็นไปเพื่อความเจริญทั้งฝ่ายบ้านเมืองและฝ่ายสงฆ์

» จริยธรรม
จริยธรรมไม่แยกเด็ดขาดจากศีลธรรม แต่มีความหมายกว้างกว่าศีลธรรม