สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
พื้นที่การปฏิบัติการ การจัดกำลัง และการวางกำลัง
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 2 ส่วนที่ 1 ได้รับมอบพื้นที่ปฏิบัติการแบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
ส่วนที่ 1 พื้นที่ตอนเหนือค่ายแบร์แคต กับพื้นที่ทางทิศตะวันออกและทิศใต้ของสวนยางบินห์สัน ซึ่งเป็นป่ารกทึบ
ส่วนที่ 2 พื้นที่ตอนกลางค่ายแบร์แคต เป็นที่เพาะปลูกสวนยาง ได้แก่ สวนยางบินห์สัน สวนยางอันเวียง สวนยางเฮเลนา และสวนยางชิฟ
ส่วนที่ 3 พื้นที่ทางด้านทิศตะวันตก เป็นพื้นที่ต่อจากพื้นที่กองบัญชาการป้องกันเขตนครหลวง (Capitat Mititary Districk) เป็นพื้นที่ลุ่มมีลำน้ำหลายสายไหลลงสู่แม่น้ำดองไน ซึ่งเป็นเส้นทางส่งกำลังบำรุงหลักของเวียดกง ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นชาวนา
กองพลทหารอาสาสมัคร ได้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดเป็นการภายใน คือ ให้กองร้อยลาดตระเวนระยะไกลเป็นหน่วยขึ้นตรงกองพล และได้ตั้งหน่วยเฉพาะกิจนารายณ์ขึ้น เพื่อรับผิดชอบการระวังป้องกันค่ายแบร์แคต และพื้นที่ปฏิบัติการนารายณ์ โดยมีรองผู้บัญชาการกองพล เป็นผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจนารายณ์ และผู้บังคับทหารปืนใหญ่กองพลทหารอาสาสมัคร เป็นรองผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจนารายณ์
การรบในเวียดนามเป็นการรบนอกแบบ การปฏิบัติการรบเป็นไปในลักษณะป้องกันตนเองรอบทิศทาง (Perimeter Defense) เมื่อหน่วยหยุดอยู่กับที่หรือตั้งฐานปฏิบัติการ จะดำเนินการรบแบบจรยุทธ์ ด้วยการส่งหน่วยลาดตระเวนระยะไกล ทั้งทางพื้นดินและอากาศ ออกตรวจค้นหาที่ตั้งของข้าศึก ขัดขวางและทำลายกำลังข้าศึกส่วนนั้น ปกติหน่วยกองพันทหารราบจะแยกกองร้อยออกปฏิบัติการเป็นอิสระ ให้เลือกและจัดตั้งฐานลาดตระเวนของตนขึ้น แล้วเคลื่อนย้ายฐานลาดตระเวนทุก 2-3 วัน เพื่อดำรงความกดดันและรบกวนเวียดกงอย่างต่อเนื่อง และเป็นการหลีกเลี่ยงการถูกโจมตีด้วยกำลังทางพื้นดิน
การวางกำลังของปืนใหญ่กองพล ได้วางปืนใหญ่และกำลังประจำฐานยิงสนับสนุนในระดับกองร้อย กองร้อยละ 1 ฐานยิง ทั้งกองพันทหารปืนใหญ่ที่ 1 ซึ่งเป็นกองพันปืนใหญ่เบาขนาด 105 มิลลิเมตร และกองพันทหารปืนใหญ่กลางกระสุนวิถีโค้ง ขนาด 155 มิลลิเมตร
กองกำลังทหารไทยในสงครามเกาหลี
การเตรียมการส่งกำลังทหารไปร่วมรบ
การปฏิบัติการในสมรภูมิเกาหลี
การถอนตัวจากกรุงเปียงยาง
การขึ้นสมทบกับกองพลน้อยที่ 28 ของอังกฤษ
การเคลื่อนที่เข้าหาเมืองชุนชอน และการเข้าตีเมืองวาซอน
การปรับปรุงกำลังทหารของไทย
การย้ายกำลังเข้ากรุงโซล และการเข้าตีเมืองอุยจองบู
การเจรจาเพื่อยุติสงคราม และสงบศึก
ผลที่ประเทศไทยได้รับจากสงครามเกาหลี
คำสดุดี แด่ทหารผู้เสียชีวิตในกรณีสงครามเกาหลี
การปฏิบัติของทหารบกผลัดที่ 2
การขึ้นประจำแนวต้านทานหลักเจมส์ทาวน์
การปฏิบัติของทหารบกผลัดที่ 3
การปฏิบัติการรบ ณ ที่มั่นตั้งรับแนวเจมส์ทาวน์ด้านเขาทีโบน
การปฏิบัติหน้าที่ในกองหนุนของกองพลที่ค่ายเคซี (Camp Cacy)
การปฏิบัติระหว่างเป็นกองหนุนของกองพลที่เมืองยอนชอน
การปฏิบัติการรบบนที่มั่นตั้งรับ แนวเจมส์ทาวน์ด้านเขาพอร์คชอป
การรบบนที่มั่นเขาพอร์คชอป ครั้งที่ 2
การรบบนที่มั่นเขาพอร์คชอป ครั้งที่ 3
การปฏิบัติการของทหารบกผลัดที่ 4
การปฏิบัติการบริเวณเขาเดอะฮุค และเขายิบรอลตาร์
การปฏิบัติการของทหารบกผลัดที่ 5
การปฏิบัติการรบที่บูเมอแรง
การปฏิบัติการของทหารบก ผลัดที่ 6
การปฏิบัติการของกองพันทหารไทย
การปฏิบัติการของทหารบกผลัดที่ 7 - 23
การปฏิบัติการของกองร้อยอิสระผลัดที่ 7 - 23
กองร้อยกองเกียรติยศประจำกองบัญชาการสหประชาชาติ
การปฏิบัติการของทหารเรือ
การจัดกำลังทางเรือของสหประชาชาติในสงครามเกาหลี
การปฏิบัติการของ มส.
การปฏิบัติการของเรือหลวงบางปะกง
การรับมอบเรือหลวงท่าจีน และเรือหลวงประแส
การปฏิบัติการของเรือหลวงท่าจีน
การปฏิบัติการของเรือหลวงประแส
การปฏิบัติการของทหารอากาศ
การจัดชุดพยาบาลทางอากาศ และการผลัดเปลี่ยน
การปฏิบัติงานของชุดพยาบาลทางอากาศ
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 1
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 2
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 3
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 4 - 17
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 18 - 24
การปฏิบัติของหน่วยบรรเทาทุกข์สภากาชาดไทย
เจ้าหน้าที่หน่วยแพทย์บรรเทาทุกข์สภากาชาดไทยรุ่นที่ 1 - 4
การปฏิบัติการของทหารไทยในสงครามเวียดนาม
เหตุการณ์ในเวียดนามก่อนเกิดสงคราม
การช่วยเหลือของฝ่ายโลกเสรี
การส่งทหารไปร่วมรบในสงครามเวียดนาม
กองบัญชาการกองกำลังทหารไทยในสาธารณรัฐเวียดนาม ผลัดที่ 1
กองบัญชาการกองกำลังทหารไทยฯ ผลัดที่ 2 - 5
สำนักงานผู้แทนทหารไทยในสาธารณรัฐเวียดนาม
กรมทหารอาสาสมัคร(กรม อสส.)
แผนการยุทธและการปฏิบัติการ
การปฏิบัติการรบที่ฟุกโถ(20 - 21 ธันวาคม 2510)
กองพลทหารอาสาสมัคร(พล.อสส.)
กองพลทหารอาสาสมัครผลัดที่ 1
การรบที่บินห์สัน (Binh Son)
การรบที่ล็อคอัน (Loc An)
คำชมเชยจากต่างประเทศ
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 1 ส่วนที่ 2
การรบที่เฟือกกาง (Phuoc Cang)
ยุทธการอัศวิน
ยุทธการวูล์ฟแพค 1,2 (Woltpack I,II)
ยุทธการเบ็นแคม (Ben Cam)
ยุทธการเฟือกเหงียน (Phuac Nguyen)
อิสริยาภรณ์ และเหรียญตราที่ได้รับ
กองพลทหาร อาสาสมัคร ที่ 2
พื้นที่การปฏิบัติการ การจัดกำลัง และการวางกำลัง
ยุทธการมิตรภาพ
ยุทธการสี่พยัคฆ์ (Opcration Tu Ho)
ยุทธการบางปู
ยุทธการ 234
ยุทธการซุยคา
ยุทธการคีย์แมน
ยุทธการทัมเทียน (Tham Thien)
ยุทธการสายฟ้าแลบ (Thunderbolt)
การผลัดเปลี่ยน และเดินทางกลับ
บทเรียนจากการรบ และการสูญเสีย
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 3
การถอนกำลังกลับประเทศไทย
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 3 ส่วนที่ 2
การปฏิบัติการรบของกองร้อยจู่โจม (15 - 18 เมาายน 2514)
การปฏิบัติการของชุดเพชฌฆาตสังหาร (17 - 18 สิงหาคม 2514)
อิสริยาภรณ์ และเหรียญตราที่ได้รับ
หน่วยเรือซีฮอร์ส
เรือหลวงพงัน
การปฏิบัติการระหว่าง ปี พ.ศ. 2510 - 2515
สรุปการปฏิบัติของหน่วยเรือซีฮอร์ส
หน่วยบินวิคตอรี
การลำเลียงขนส่งทางอากาศ 1,776 ภารกิจ
การยุติสงครามเวียดนาม
ยุทธศาสตร์เวียดนามเหนือ
การดำเนินการของเวียดนามเหนือ และเวียดกง
การเจรจาสันติภาพที่กรุงปารีส
สถานการณ์ในเวียดนามใต้ หลังการถอนกำลังฝ่ายโลกเสรี