ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
พระวินัยปิฎก
พระสุตตันตปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก
พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อมหาวัคค์ (เป็นวินัยปิฎก)
ทรงถอนข้ออนุญาตสำหรับยามข้าวยาก
ต่อมากรุงไพศาลีสมบูรณ์บริบูรณ์ขึ้น พระผู้มีพระภาคจึงทรงถอนข้ออนุญาตที่ประทานไว้ในสมัยข้าวยาก เป็นอันกลับห้ามต่อไป คือ
ห้ามเก็บอาหารค้างคืนในที่อยู่, ห้ามหุงต้มในที่อยู่, ห้ามหุงต้มด้วยตนเอง, ห้ามฉันผลไม้ที่เก็บมาเอง โดยหาคนประเคนทีหลัง ๔ ข้อนี้ ปรับอาบัติทุกกฏแก่ผู้ล่วงละเมิด.
ห้ามฉันอาหารจนไม่รับของที่เขาจะถวายเพิ่มแล้ว กลับฉันของที่เขานำมาถวายจากบ้านเจ้าภาพอีก, หรือฉันอาหารที่รับประเคนไว้ก่อนเวลาอาหาร หรือฉันอาหารที่เกิดในป่า ในสระน้ำ เช่น ผลไม้ เหง้าบัว ให้ปรับอาบัติแก่ผู้บริโภคตามควรแก่กรณี (อาบัติปาจิตตีย์).
- ทรงอนุญาตที่เก็บอาหาร
- ทรงอนุญาตตามที่เมณฑกคฤหบดีขอร้อง
- ทรงอนุญาตน้ำอัฏฐบาน
(น้ำดื่ม ๘ อย่าง)
- ทรงอนุญาตผักและของเคี้ยวที่ทำด้วยแป้ง
- ทรงแนะข้อตัดสิน
จัมมขันธกะ(หมวดว่าด้วยหนัง)
เภสัชชขันธกะ (หมวดว่าด้วยยา)
ทรงถอนข้ออนุญาตสำหรับยามข้าวยาก
กฐินขันธกะ
(หมวดว่าด้วยกฐิน)
จีวรขันธกะ
(หมวดว่าด้วยจีวร)
การทำกรรมที่ไม่เป็นธรรมและที่เป็นธรรม
โกสัมพิขันธกะ
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่
๒
พระวินัยเล่มที่
๓
พระวินัยเล่มที่
๔
พระวินัยเล่มที่
๕
พระวินัยเล่มที่
๖
พระวินัยเล่มที่
๗
พระวินัยเล่มที่
๘