ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
พระวินัยปิฎก
พระสุตตันตปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก
พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อมหาวัคค์ (เป็นวินัยปิฎก)
กฐินขันธกะ
(หมวดว่าด้วยกฐิน)
ภิกษุชาวเมืองปาฐา ๓๐ รูป ซึ่งเป็นผู้ถือการอยู่ป่า, การเที่ยวบิณฑบาต, นุ่งห่มผ้าบังสุกุล (ผ้าเก็บตกมาปะติดปะต่อทำเป็นจีวร) และใช้จีวร ๓ ผืน (ไม่เกินกว่านั้น) เป็นวัตร เดินทางจะมาเฝ้าพระผู้มีพระภาค มาถึงเมืองสาเกต ถึงวันเข้าพรรษา ต้องจำใจจำพรรษาอยู่ในเมืองสาเกตุ มีความระลึกถึงสมเด็จพระบรมศาสดา ออกพรรษาแล้วจึงมาเฝ้าทั้งที่จีวรเปียกน้ำฝน และต้องเดินทางลุยน้ำลุยโคลน พระผู้มีพระภาคทรงปรารภเหตุนั้น จึงทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้จำพรรษาแล้วกราลกฐินได้.
(กราลกฐิน คือลาดไม้สะดึงหรือไม้แบบ ลงไปเอาผ้าทาบ ตัดผ้าตามไม้แบบนั้น แล้วช่วยกันทำจีวรแจกแก่ภิกษุผู้สมควร).
- อานิสงส์
๕ ของภิกษุผู้ได้กราลกฐิน
- ทรงให้สวดประกาศกฐิน
- ข้อกำหนดในการเดาะกฐิน
จัมมขันธกะ(หมวดว่าด้วยหนัง)
เภสัชชขันธกะ (หมวดว่าด้วยยา)
ทรงถอนข้ออนุญาตสำหรับยามข้าวยาก
กฐินขันธกะ
(หมวดว่าด้วยกฐิน)
จีวรขันธกะ
(หมวดว่าด้วยจีวร)
การทำกรรมที่ไม่เป็นธรรมและที่เป็นธรรม
โกสัมพิขันธกะ
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่
๒
พระวินัยเล่มที่
๓
พระวินัยเล่มที่
๔
พระวินัยเล่มที่
๕
พระวินัยเล่มที่
๖
พระวินัยเล่มที่
๗
พระวินัยเล่มที่
๘