ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม >>

ประวัติเครื่องแต่งกาย

สาเหตุที่มนุษย์มีการแต่งกายแตกต่างกัน
การแต่งกายไทยตามสมัยประวัติศาสตร์และโบราณคดี
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เสื้อผ้าในแต่ละยุคสมัย
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เครื่องประดับในแต่ละยุคสมัย
การแต่งกายของชาวเขาในประเทศไทย
การแต่งกายชาวเอเซีย
การแต่งกายชาวตะวันออกกลางและยุโรป
การแต่งกายของยุโรปตอนเหนือ
แนวความคิดในการออกแบบเครืองแต่งกายจากสมัยต่าง ๆ

การแต่งกายชาวเอเซีย

การแต่งกายธิเบต

ธิเบตเป็นประเทศที่มีพื้น ที่สูงกว่าระดับนำ้ทะเล ภูมิประเทศเป็นภูเขา อากาศหนาว ค่อนข้างแห้งแล้ง ธิเบตมีวัฒนธรรมประเพณีคล้ายคลึงกับชาวจีนมาแต่ดั้งเดิม มีการปกครองที่มี ผู้ปกครองประเทศเป็นพระดำรงตำแหน่งสูงสุดทั้งการเมือง และศาสนา คือ ดาไลลามะเป็นทั้ง กษัตริย์ และพระสังฆราช เครื่องแต่งกายดาไลลามะจะครองจีวรเหลือง สวมหมวกโลหะ

การแต่งกายของชายหญิงชาวธิเบต แต่งเพื่อให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ใส่เสื้อคลุมขนแกะ ในฤดูหนาว ในฤดูร้อนหญิงจะห่มสาหรี่ผ้าธรรมดาหรือไหม เสื้อคลุมยาวแค่หัวเข่า สวมหมวกปีก ใส่รองเท้าผ้าหรือหนังสัตว์ หญิงที่เกิดในตระกูลสูงจะประดับกายด้วยสร้อยคอ แหวน ปิ่นปักผม ตุ้มหู ทุกคนจะมีกล่องใส่ตะกรุดและรูปเทวดาคล้องคอ ผู้ชายจะห้อยไว้ที่เอวถือว่าผู้มีกล่องนีจ้ะ มีเสน่ห์ การแต่งกายของธิเบตจะปนกันระหว่างอินเดีย และจีน แบ่งเป็น 2 ประเภท

ชุดไตรจีวร (กาสาวพักตร์)
เป็นการแต่งกายของดาไลลามะ ใช้ผ้ายืนยาวที่นำเศษผ้า ซึ่งมีขนาดรูปร่าง และสีต่างกันมาต่อกันเป็นผืนสวมรองเท้าบูท สวมหมวกของพระ

ชุดประเพณี การแต่งกายมีแบบหลายอย่าง เช่น

  1. เสื้อคลุมยาวธิเบต ที่เห็นบ่อยที่สุด คือ แบบเอวกว้าง แขนยาว หน้าอกเสื้อใหญ่ แบ่ง ออกเป็น
    : เสื้อคลุมยาวธิเบตแบบผู้ชาย
    : เสื้อคลุมยาวธิเบตแบบผู้หญิง จะแคบหน่อย มีทั้งแบบมีแขนเสื้อ และแบบไม่มีแขนเสื้อ

  2. เสื้อเชิ้ต ธิเบต แบ่งออกเป็น

ผู้ชาย โดยทั่วไปเป็นสีขาว ปกคอเสื้อสูง มีกระดุม

ผู้หญิง เป็นลายดอก คอปกพลิกกลับลงมา ไม่มีกระดุม แต่แขนเสื้อยาวกว่าแบบ ผู้ชายมาก

ชุดลำลอง แบ่งออกเป็น
ผู้ชาย
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนบนเป็นเสื้อ ส่วนล่างเป็นกางเกง เสื้อค่อนข้างสั้น และเล็กหน่อย โดยทั่วไปเป็นสีดำ และสีขาว

  • ผู้หญิง มีเสื้อติดกระดุมที่หน้าอกชิ้น เดียวใช้ใส่ทับเสื้อคลุมยาว ชาวเมืองธิเบตนิยมใช้สิ่งทอขนสัตว์ชิ้น สูงมาทำเสื้อคลุมยาว

  • ในเขตเกษตรกรรมนิยมใช้ ผูหลู่ (สิ่งทอขนแกะ หรือขนจามรี)

  • ในเขตประกอบการปศุสัตว์ นิยมใช้แกะ หรือขนสัตว์อื่นมาทำเพื่อป้องกันลมหนาว ในเวลากลางวัน และใช้แทนผ้าห่มในเวลากลางคืน

  • รองเท้าบูทธิเบตมีหลายชนิด โดยทั่วไปพื้น รองเท้าแข็งด้านข้างนิ่ม รองเท้าเป็นแบบ เรียบ ไม่มีส้น วัตถุดิบที่นำมาทำรองเท้าโดยทั่วไปจะเป็นผูหลู่ หรือหนังฟอก ส่วนด้านการใช้สี ค่อนข้างพิถีพิถัน หัวรองเท้ามีทั้งแบบเหลี่ยมกลม แหลม

หมวกธิเบต ทั้งผู้ชาย และผู้หญิง จะสวมหมวกที่ทำด้วยสักหลาด หรือขนสัตว์

หมวกจินติ่งเม่า ทำด้วยผ้าสักหลาด เย็บประดับด้วยเส้นเงินเส้นทอง ปีกหมวกมีลักษณะเป็น สี่ด้าน ด้านหน้าและด้านหลังใหญ่ ส่วนด้านซ้ายด้านขวาเล็ก โดยทั่วไปประดับด้วยขนกระต่าย หรือขนนก

วิธีใส่
ผู้หญิง นิยมพับปีกหมวกใหญ่ขึ้น เหลือไว้แต่ปีกหมวกด้านข้าง
ผู้ชาย
นิยมพับปีกหมวกทั้งด้านซ้าย ด้านขวา และด้านหลังเหลือไว้แต่ปีกหมวก ด้านหน้า

เครื่องประดับ

ผู้หญิง สิ่งประดับผมทำด้วยทอง เงิน และทองแดง เสริมด้วยหินปะการังกลางกระหม่อม ประดับด้วย “ปาจู” (ไข่มุกชนิดหนึ่ง) เปียยาวประดับไปด้วยเครื่องเงิน คอประดับด้วยสร้อยไข่มุก หรือสร้อยหินเขียว หน้าอกประดับด้วย “ข่าอู่” (จี้ต ลับทำด้วยเครื่องเงิน ข้างในบรรจุยันต์) ผ้าคาด หน้าท้อง (ปังเตี่ยน) มีสีเป็นสายรุ้ง คล้ายผ้ากันเปื้อน

การแต่งกายของชาวธิเบต

พม่า
ลาว
กัมพูชา
เวียดนาม
มาเลเซีย
อินโดนีเซีย
สิงคโปร์
ฟิลิปปินส์
ศรีลังกา
ปากีสถาน
ธิเบต
ภูฐาน
บังคลาเทศ
เนปาล
มงโกเลีย
ญี่ปุ่น
เกาหลี
จีน
ไต้หวัน
อินเดีย

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

» "บ้าน" มรดกทางวัฒนธรรม
"บ้าน" คือการบอกเล่าความเป็นมา คือการบอกล่าวถึงพัฒนาการในการดำรงชีพของมนุษย์ "บ้าน" ที่อยู่อาศัยหนึ่งในปัจจัยสี่ ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับมนุษย์ และบ่งบอกถึงความั่นคง

» ภูมิปัญญากีฬาไทย
กีฬาไทยที่บรรพชนไทยค้นคิด และถ่ายทอดมาสู่ลูกหลาน บางชนิดกลายเป็นตำนานและความทรงจำ และบางชนิดยังคงมีการเล่นกันอยู่

» สะพานสู่ฟ้าใหม่
สะพานข้ามน้ำเป็นสัญลักษณ์การข้ามอุปสรรคขวางกั้นไปสู่จุดหมาย และการเชื่อมโยงสิ่งตรงข้ามมา เพื่อสร้างเอกภาพอันกลมกลืนมั่นคง

» ทิวธงมงคลชัย
สิ่งสะท้อนความคิด และสืบทอดคติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ของชนรุ่นแล้วรุ่นเล่า จากยุคสมัยหนึ่งสู่อีกยุคสมัยหนึ่ง ดุจตัวแทนที่น้อมนำสู่มงคลแห่งชีวิต

» พระราชลัญจกรประจำรัชกาล
ตราประจำพระมหากษัตริย์ แต่ละรัชกาล ซึ่งจะทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อเริ่มต้นรัชกาล เพื่อประทับกำกับพระปรมาภิไธย ในเอกสารสำคัญต่างๆของชาติ ที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน

» สามล้อไทย
วิถีหนึ่งของสายทาง ซึ่งแม้เวลาจะหมุนเวียนเปลี่ยนไป หากสายทางของสามล้อยังคงผูกพัน เป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย

» กีฬาสัตว์
ด้วยนิสัยช่างสังเกตของคนไทย จึงเป็นที่มาของกีฬาซึ่งใช้สัตว์เป็นผู้แข่งขัน จนกลายเป็นกิจกรรมบันเทิงพื้นบ้าน ยามว่างนับแต่อดีต

» ตาลปัตร พัดรอง
พัดที่ทำจากใบตาลมีหลายรูปแบบ สำหรับใช้โบกให้ความเย็น และใช้เป็นการบ่งบอกถึงฐานะ บรรดาศักดิ์ของผู้ใช้