ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม >>

ประวัติเครื่องแต่งกาย

สาเหตุที่มนุษย์มีการแต่งกายแตกต่างกัน
การแต่งกายไทยตามสมัยประวัติศาสตร์และโบราณคดี
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เสื้อผ้าในแต่ละยุคสมัย
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เครื่องประดับในแต่ละยุคสมัย
การแต่งกายของชาวเขาในประเทศไทย
การแต่งกายชาวเอเซีย
การแต่งกายชาวตะวันออกกลางและยุโรป
การแต่งกายของยุโรปตอนเหนือ
แนวความคิดในการออกแบบเครืองแต่งกายจากสมัยต่าง ๆ

การแต่งกายชาวเอเซีย

การแต่งกายญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น มีฝนตกเนื่องจากมีภูมิประเทศเป็นเกาะ เสื้อผ้าที่สวมใส่จึงต้องให้ความอบอุ่น เรียกว่า “กิโมโน” ซึ่งเป็นเสื้อคลุมยาวถึงเท้า แต่ปัจจุบันแต่ง กายแบบสากลนิยมตะวันตก เนื่องจากกิโมโนมีราคาแพง และไม่สะดวกต่อการทำงานประจำวัน จึงแต่งเฉพาะโอกาสพิเศษวันฉลองครบรอบ 20 ปี ของหนุ่มสาว หรือในพิธีแต่งงาน มีผ้าคาดเอว ของสตรี เรียกว่า “โอบิ” ทำให้ดูไม่รุ่มร่าม มีสีตัดกับกิโมโน สวมถุงเท้า เรียกว่า “ทาบิ” รองเท้า เรียกว่า “โซบิ”

ชุดกิโมโนในสมัยโบราณจริง ๆ จะสวมทับกันหลายชิ้น โดยเฉพาะตระกูลขุนนางจะสวม ถึง 12 ชิ้น แต่ปัจจุบันจะสวมทับกันเพียง 2 – 3 ชิ้น เท่านั้น

เครื่องแต่งกาย นอกจากกิโมโนแล้วยังมีเครื่องแต่งกายอื่นอีก เช่น

1. เสื้อแฮปปี้ เป็นเสื้อชิ้น นอกสีดำ สำหรับคนงานแต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกัน

2. เสื้อฮาโอริ เป็นเสื้อชิ้น นอกสีดำเช่นกัน จะมีลวดลายเป็นสีขาวหรือเครื่องหมาย นามสกุล

3. เสื้อฮะกามา เป็นเสื้อที่มีรูปร่างคล้ายกางเกงขากว้าง ใช้ในงานพิธี

4. ยูกาตะ (Yukata) เป็นกิโมโนชนิดหนึ่งทำจากผ้าฝ้าย ใส่ได้ทั้งชายและหญิง สีไม่สด เป็นชุดที่ใส่อยู่กับบ้านหลังจากอาบน้ำเสร็จแล้ว ต่อมาได้มีการนำชุดยูกาตะมาใส่ในงานประเพณี และเทศกาลในฤดูร้อน ทำให้มีลวดลายสีสันขึ้น ชุดผู้หญิงจะมีสีสันมากกว่าชาย

5. โกโซเดะ (Kosode) เป็นชุดกิโมโนของผู้หญิงที่แต่งงานแล้ว เป็นชุดกิโมโนแขนยาว ธรรมดา “ฟูริโวเดะ” เป็นกิโมโนของหญิงสาวที่ยังไม่ได้แต่งงานมีแขนยาวกว้างเป็นพิเศษ

การแต่งกายของขาวญี่ปุ่น


พม่า
ลาว
กัมพูชา
เวียดนาม
มาเลเซีย
อินโดนีเซีย
สิงคโปร์
ฟิลิปปินส์
ศรีลังกา
ปากีสถาน
ธิเบต
ภูฐาน
บังคลาเทศ
เนปาล
มงโกเลีย
ญี่ปุ่น
เกาหลี
จีน
ไต้หวัน
อินเดีย

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

» "บ้าน" มรดกทางวัฒนธรรม
"บ้าน" คือการบอกเล่าความเป็นมา คือการบอกล่าวถึงพัฒนาการในการดำรงชีพของมนุษย์ "บ้าน" ที่อยู่อาศัยหนึ่งในปัจจัยสี่ ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับมนุษย์ และบ่งบอกถึงความั่นคง

» ภูมิปัญญากีฬาไทย
กีฬาไทยที่บรรพชนไทยค้นคิด และถ่ายทอดมาสู่ลูกหลาน บางชนิดกลายเป็นตำนานและความทรงจำ และบางชนิดยังคงมีการเล่นกันอยู่

» สะพานสู่ฟ้าใหม่
สะพานข้ามน้ำเป็นสัญลักษณ์การข้ามอุปสรรคขวางกั้นไปสู่จุดหมาย และการเชื่อมโยงสิ่งตรงข้ามมา เพื่อสร้างเอกภาพอันกลมกลืนมั่นคง

» ทิวธงมงคลชัย
สิ่งสะท้อนความคิด และสืบทอดคติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ของชนรุ่นแล้วรุ่นเล่า จากยุคสมัยหนึ่งสู่อีกยุคสมัยหนึ่ง ดุจตัวแทนที่น้อมนำสู่มงคลแห่งชีวิต

» พระราชลัญจกรประจำรัชกาล
ตราประจำพระมหากษัตริย์ แต่ละรัชกาล ซึ่งจะทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อเริ่มต้นรัชกาล เพื่อประทับกำกับพระปรมาภิไธย ในเอกสารสำคัญต่างๆของชาติ ที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน

» สามล้อไทย
วิถีหนึ่งของสายทาง ซึ่งแม้เวลาจะหมุนเวียนเปลี่ยนไป หากสายทางของสามล้อยังคงผูกพัน เป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย

» กีฬาสัตว์
ด้วยนิสัยช่างสังเกตของคนไทย จึงเป็นที่มาของกีฬาซึ่งใช้สัตว์เป็นผู้แข่งขัน จนกลายเป็นกิจกรรมบันเทิงพื้นบ้าน ยามว่างนับแต่อดีต

» ตาลปัตร พัดรอง
พัดที่ทำจากใบตาลมีหลายรูปแบบ สำหรับใช้โบกให้ความเย็น และใช้เป็นการบ่งบอกถึงฐานะ บรรดาศักดิ์ของผู้ใช้