ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม >>
สาเหตุที่มนุษย์มีการแต่งกายแตกต่างกัน
การแต่งกายไทยตามสมัยประวัติศาสตร์และโบราณคดี
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เสื้อผ้าในแต่ละยุคสมัย
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เครื่องประดับในแต่ละยุคสมัย
การแต่งกายของชาวเขาในประเทศไทย
การแต่งกายชาวเอเซีย
การแต่งกายชาวตะวันออกกลางและยุโรป
การแต่งกายของยุโรปตอนเหนือ
แนวความคิดในการออกแบบเครืองแต่งกายจากสมัยต่าง ๆ
การแต่งกายชาวเอเซีย
การแต่งกายไต้หวัน
ไต้หวันเป็นภาษาจีน เดิมชื่อ ฟอร์โมซา เป็นภาษาโปตุเกส แต่ก่อนไต้หวันอยู่ในความ
ปกครองของจีน เริ่มมีชาวจีนจากกวางตุ้ง และฟูเรียน อพยพเข้ามาอยู่ตามบริเวณฝั่ง
ต่อมาก็มี
ชาวตะวันตกเข้ามา เช่น ชาวโปตุเกส ดัทช์ สเปน ต่อมาชาวดัทช์กับชาวสเปนเกิดสงครามแย่งชิง
ดินแดนกัน ชาวสเปนแพ้จึงยกทัพหนีไป ชาวดัทช์ หรือฮอลันดาก็ยึดครองเกาะไต้หวัน ประมาณ 38 ปี
ต่อมาประเทศจีนเกิดสู้รบกันระหว่างราชวงค์หมิงและราชวงค์แมนจู กษัตริย์ราชวงค์หมิง กลัวราชวงค์แมนจูจะยึดแผ่นดินจีน จึงนึกถึงเกาะไต้หวัน จึงส่งกองทัพไปยึดเกาะไต้หวันคืนจาก
ชาวดัทช์ได้ ต่อมาญี่ปุ่นได้ยึดเกาะไต้หวันได้อีก เนื่องจากประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเกาะ
ไต้หวันมีการเปลี่ยนแปลง ส่วนใหญ่ชาวไต้หวันจึงรับเอาวัฒนธรรมจากชาวจีนและญี่ปุ่นบ้าง และเจ้า
ของเดิมซึ่งมีทั้งชาวเล และชนเผ่าเกาซาน ซึ่งมีเชื้อสายพวกฮั่นเก่า มีการสักบนใบหน้าบางเผ่าก็
แต่งกายประดับประดางดงาม นิยมแบบอย่างชาวจีน ส่วนใหญ่สตรี สวมชุดกี่เพ้า คือ สวมเสื้อป้า
ยอก คอตั้งและกระโปรงจะผ่ามาเหนือเข่าทั้ง 2 ข้าง ปัจจุบันจะแต่งกายตามชุดสากลนิยมแล้วเพื่อ
ความสะดวก
การแต่งกายของชาวจีนและไต้หวัน
พม่า
ลาว
กัมพูชา
เวียดนาม
มาเลเซีย
อินโดนีเซีย
สิงคโปร์
ฟิลิปปินส์
ศรีลังกา
ปากีสถาน
ธิเบต
ภูฐาน
บังคลาเทศ
เนปาล
มงโกเลีย
ญี่ปุ่น
เกาหลี
จีน
ไต้หวัน
อินเดีย