สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
แนวความคิดทางเศรษฐกิจ
คำว่าแนวความคิดทางเศรษฐกิจหรือลัทธิเศรษฐกิจ (Economic Ideology) ก็คงมีความหมายลักษณะเดียวกับลัทธิการเมือง กล่าวคือ ลัทธิเศรษฐกิจเป็นความคิดหรือความเชื่อของบุคคลภายในรัฐ แต่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการจัดระบบเศรษฐกิจอย่างมีระเบียบแบบแผน เพื่อความสุขของประชาชน โดยปกติแล้วลัทธิการเมืองและลัทธิเศรษฐกิจมักจะมีแนวความคิดใกล้เคียงกันหรือควบคู่กันไป แต่ก็มีบางกรณีที่ลัทธิการเมืองก่อให้เกิดระบบการปกครองอย่างหนึ่ง แต่ระบบการปกครองนั้นได้นำเอาความคิดจากลัทธิเศรษฐกิจอีกอย่างหนึ่งมาใช้ก็เป็นได้ เช่น ประเทศอังกฤษ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข แต่มีระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม เป็นต้น เมื่อเช่นนี้แนวความคิดในการจัดระบบเศรษฐกิจจึงมีความสำคัญต่อการจัดระบบการเมือง
แนวความคิดทางการเมือง
ประเภทของลัทธิการเมือง
ระบบประชาธิปไตย
หลักการของระบอบประชาธิปไตย
องค์สามของประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นอุดมคติ
ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นระบบการเมืองการปกครอง
ประชาธิปไตยในฐานะที่เป็นวิถีชีวิต
ระบบเผด็จการ
ลักษณะสำคัญของระบบเผด็จการเบ็ดเสร็จ
แนวความคิดทางเศรษฐกิจ
ประเภทของลัทธิเศรษฐกิจ
หลักสำคัญของระบบทุนนิยม
แบบสังคมนิยม (Socialism)
หลักสำคัญของระบบสังคมนิยม
ประเภทของระบบสังคมนิยม