ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
พระวินัยปิฎก
พระสุตตันตปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก
พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
พระวินัยเล่มที่ ๖
ชื่อจุลลวัคค์ (วรรคเล็ก) เป็นวินัยปิฎก
สมถขันธกะ
(หมวดว่าด้วยวิธีระงับอธิกรณ์)
ภิกษุฉัพพัคคีย์ (พวก ๖) ทำกรรมประเภทลงโทษแก่ภิกษุทั้งหลายที่ไม่ได้อยู่ต่อหน้า (เป็นการทำลับหลัง) คือตัชชนียกรรม (ข่มขู่) บ้าง, นิยสกรรม (ถอดยศหรือตัดสิทธิ) บ้าง, ปัพพาชนียกรรม (ขับไล่) บ้าง, ปฏิสารณียกรรม (ให้ขอขมาคฤหัสถ์) บ้าง, อุกเขปนียกรรม (ยกเสียจากหมู่ไม่ให้ใครคบ) บ้าง. มีผู้ติเตียน.
พระผู้มีพระภาคจึงทรงบัญญัติพระวินัย ห้ามทำการลับหลังผู้ถูกลงโทษ ทรงปรับอาบัติทุกกฏแก่ผู้ทำเช่นนั้น.
- สัมมุขาวินัย (การระงับต่อหน้า)
- สติวินัย
(การระงับด้วยยกให้ว่าเป็นผู้มีสติ)
- อมูฬหวินัย
- ปฏิญญาตกรณะ
(การระงับด้วยคำสารภาพของผู้ถูกฟ้อง)
- เยภุยยสิกา
(การระงับด้วยถือเสียงข้างมาก)
- ตัสสปาปิยสิกา
(การระงับด้วยการลงโทษ)
- ติณวัตถารกะ
(การระงับด้วยให้เลิกแล้วกันไป)
กัมมขันธกะ
พระเสยยสกะกับนิยสกรรม
ปริวาสิกขันธกะ (หมวดว่าด้วยผู้อยู่ปริวาส)
สมุจจยขันธกะ
สมถขันธกะ
อธิกรณ์ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่
๒
พระวินัยเล่มที่
๓
พระวินัยเล่มที่
๔
พระวินัยเล่มที่
๕
พระวินัยเล่มที่
๖
พระวินัยเล่มที่
๗
พระวินัยเล่มที่
๘