ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
พระวินัยปิฎก
พระสุตตันตปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก
พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อจุลลวัคค์ (วรรคเล็ก) เป็นวินัยปิฎก
สมถขันธกะ
(หมวดว่าด้วยวิธีระงับอธิกรณ์)
๓.อมูฬหวินัย
ภิกษุชื่อคุคคะ เป็นบ้า ได้ทำความผิดหลายประการ มีผู้โจทฟ้อง พระผู้มีพระภาคจึงทรงแนะให้ระงับด้วยอมูฬวินัย โดยให้ผู้ถูกฟ้อง (ซึ่งหายแล้ว) ขออมูฬหวินัย และให้สงฆ์สวดประกาศให้อมูฬหวินัย เป็นอันระงับด้วยยกให้เป็นบ้าในขณะทำความผิด.
แต่ก็ทรงวางเงื่อนไขไว้ว่า ถ้าทำความผิดขณะที่รู้สึกตนและไม่เป็นบ้า แต่แก้ตัวว่าไม่รู้สึกตน หรือรู้สึกเหมือนฝัน หรือแก้ตัวอ้างความเป็นบ้าสงฆ์ให้อมูฬหวินัยแก่เธอ ดังนี้ เรียกว่าไม่เป็นธรรม ถ้าตรงกันข้าม คือทำไปในขณะเป็นบ้าไม่รู้สึกตัวจริง ๆ การให้อมูฬหวินัยจึงเป็นธรรม.
- สัมมุขาวินัย (การระงับต่อหน้า)
- สติวินัย
(การระงับด้วยยกให้ว่าเป็นผู้มีสติ)
- อมูฬหวินัย
- ปฏิญญาตกรณะ
(การระงับด้วยคำสารภาพของผู้ถูกฟ้อง)
- เยภุยยสิกา
(การระงับด้วยถือเสียงข้างมาก)
- ตัสสปาปิยสิกา
(การระงับด้วยการลงโทษ)
- ติณวัตถารกะ
(การระงับด้วยให้เลิกแล้วกันไป)
กัมมขันธกะ
พระเสยยสกะกับนิยสกรรม
ปริวาสิกขันธกะ (หมวดว่าด้วยผู้อยู่ปริวาส)
สมุจจยขันธกะ
สมถขันธกะ
อธิกรณ์ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่
๒
พระวินัยเล่มที่
๓
พระวินัยเล่มที่
๔
พระวินัยเล่มที่
๕
พระวินัยเล่มที่
๖
พระวินัยเล่มที่
๗
พระวินัยเล่มที่
๘