ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม >>
สาเหตุที่มนุษย์มีการแต่งกายแตกต่างกัน
การแต่งกายไทยตามสมัยประวัติศาสตร์และโบราณคดี
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เสื้อผ้าในแต่ละยุคสมัย
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เครื่องประดับในแต่ละยุคสมัย
การแต่งกายของชาวเขาในประเทศไทย
การแต่งกายชาวเอเซีย
การแต่งกายชาวตะวันออกกลางและยุโรป
การแต่งกายของยุโรปตอนเหนือ
แนวความคิดในการออกแบบเครืองแต่งกายจากสมัยต่าง ๆ
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การแต่งกายสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411 2453) ระยะ 42 ปี
ใน พ.ศ. 2414 ได้ทรงปรับปรุงประเพณีการไว้ผม ให้ผู้ชายไทยเลิกไว้ผมทรงมหาดไทย
เปลี่ยนเป็นไว้ผมยาวอย่างฝรั่ง ส่วนผู้หญิงให้เลิกไว้ผมปีก ให้ไว้ผมตัดยาวทรงดอกกระทุ่ม
การเปลี่ยนแปลงการแต่งกายในสมัยรัชกาลที่ 5 สรุปได้ ดังนี้
ต้นสมัยรัชกาลที่ 5
หญิง
ผม เลิกไว้ผมปีก หันมาไว้ผมยาวประบ่า
การแต่งกาย นุ่งผ้าลายโจงกระเบน เสื้อกระบอก ผ่าอก แขนยาว ห่มแพร จีบตามขวาง
สไบเฉียงทาบบนเสื้ออีกชั้น หนึ่ง ถ้าอยู่บ้านห่มสไบไม่สวมเสื้อ เมื่อมีงานพิธีจึงนุ่งห่มตาด
เครื่องประดับ สร้อยคอ สร้อยตัว สร้อยข้อมือ กำไล แหวน เข็มขัด
ชาย
ผม เลิกไว้ทรงมหาดไทย หันมาไว้ผมยาวทั้งศีรษะ ผมรองทรง
การแต่งกาย นุ่งผ้าม่วงโจงกระเบน สวมเสื้อราชประแตน คือ เสื้อนอกกระดุม 5 เม็ด
สวมหมวกหางนกยูง ถือไม้เท้า ไปงานพิธีจะสวมถุงเท้ารองเท้าด้วย หรือสวมเสื้อแพรสีตาม
กระทรวงและหมวดเหล่า ตามชั้น เจ้านาย เสื้อแพรสีไพล ขุนนางกระทรวงมหาดไทย เสื้อแพรสี
เขียวแก่ ขุนนางกระทรวงกลาโหม เสื้อแพรสีลูกหว้า ขุนนางกรมท่า (กระทรวงต่างประเทศ)
เสื้อ
แพรสีน้ำเงิน (ภายหลัง คือ สีกรมท่า) มหาดเล็ก เสื้อแพรสีเหล็ก พลเรือนจะใส่เสื้อปีกเป็นเสื้อคอ
ปิดมีชายไม่ยาวมาก คาดเข็มขัดนอกเสื้อ
การแต่งกายสมัยต้นสมัยรัชกาลที่ 5
รัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2394 2411 ระยะ 17 ปี
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กลางสมัยรัชกาลที่ 5
ปลายรัชกาลที่ 5
สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน
เครื่องแต่งกายสำหรับงานพระราชพิธีหรือรัฐพิธี