ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม >>

ประวัติเครื่องแต่งกาย

สาเหตุที่มนุษย์มีการแต่งกายแตกต่างกัน
การแต่งกายไทยตามสมัยประวัติศาสตร์และโบราณคดี
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เสื้อผ้าในแต่ละยุคสมัย
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เครื่องประดับในแต่ละยุคสมัย
การแต่งกายของชาวเขาในประเทศไทย
การแต่งกายชาวเอเซีย
การแต่งกายชาวตะวันออกกลางและยุโรป
การแต่งกายของยุโรปตอนเหนือ
แนวความคิดในการออกแบบเครืองแต่งกายจากสมัยต่าง ๆ

การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์

การแต่งกายสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

(รัชกาลที่ 6) พ.ศ. 2543 – พ.ศ. 2468 ระยะ 15 ปี

หญิง
ผม ไว้ผมยาวเสมอต้นคอ ตัดเป็นลอน หรือเรียกว่า ผมบ๊อบ คือตัดสั้น ระดับในหูตอนล่าง สองข้างยาวเท่ากัน นิยมดัดข้างหลังให้โค้งเข้าหาต้นคอเล็กน้อย หรือตัดสั้น แบบ “ทรงซิงเกิ้ล” ลักษณะตัดสั้น คล้ายผมป๊อบผิดกับตรงด้านหลังผมซิงเกิ้ลซอยด้านหลังให้ลาดเฉียงลงแนบต้นคอ ใช้เครื่องประดับคาดรอบศีรษะ ตอนปลายรัชกาลไว้ผมยาว และเกล้ามวยแบบตะวันตก

เครื่องประดับ นิยมสร้อยไข่มุก ต่างหูห้อยระย้า เพื่อให้เข้าชุดกับเครื่องแต่งกาย

เครื่องแต่งกาย ตอนแรกนิยมนุ่งผ้าโจงกระเบนผ้าม่วง สวมเสื้อผ่าอก คอลึก แขนยาว เสมอข้อศอก สะพายแพรบาง ๆ ต่อมาเริ่มนุ่งซิ่นตามพระราชนิยม สวมเสื้อผ้าแพรโปร่งบางหรือ ผ้าพิมพ์ดอก คอเสื้อกว้างขึ้น อีก และแขนเสื้อสั้น ประมาณต้นแขน ไม่มีการสะพายแพร

ชาย
ผม ผมยาวกว่าเดิม ตัดแบบยุโรป หวีผมเรียบไม่ค่อยสวมหมวก

การแต่งกาย ยังคงนุ่งผ้าม่วงโจงกระเบน สวมเสื้อราชปะแตน เพิ่มเสื้อครุยแขนยาว จรดข้อมือ ตัดเสื้อยาวคลุมเข่าสวมทับอีกที เริ่มนุ่งกางเกงแบบฝรั่งในระยะหลัง ประชาชน ธรรมดามักนุ่งกางเกงแพรของจีน สวมเสื้อคอกลมผ้าขาวบาง

ข้อสังเกตในการแต่งกายของสตรีในรัชกาลนี้คือ การไว้ผมยาว ในที่นี้หมายถึงการเลิกไว้ ผมปีกหรือทรงดอกกระทุ่ม และนิยมคาดศีรษะด้วยผ้าหรือไข่มุก แล้วเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่งคือ นุ่งซิ่น เพราะต่างกับรัชกาลอื่น

การแต่งกายสมัยรัชกาลที่ 6

รัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2394 – 2411 ระยะ 17 ปี
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กลางสมัยรัชกาลที่ 5
ปลายรัชกาลที่ 5
สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน
เครื่องแต่งกายสำหรับงานพระราชพิธีหรือรัฐพิธี

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

» "บ้าน" มรดกทางวัฒนธรรม
"บ้าน" คือการบอกเล่าความเป็นมา คือการบอกล่าวถึงพัฒนาการในการดำรงชีพของมนุษย์ "บ้าน" ที่อยู่อาศัยหนึ่งในปัจจัยสี่ ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับมนุษย์ และบ่งบอกถึงความั่นคง

» ภูมิปัญญากีฬาไทย
กีฬาไทยที่บรรพชนไทยค้นคิด และถ่ายทอดมาสู่ลูกหลาน บางชนิดกลายเป็นตำนานและความทรงจำ และบางชนิดยังคงมีการเล่นกันอยู่

» สะพานสู่ฟ้าใหม่
สะพานข้ามน้ำเป็นสัญลักษณ์การข้ามอุปสรรคขวางกั้นไปสู่จุดหมาย และการเชื่อมโยงสิ่งตรงข้ามมา เพื่อสร้างเอกภาพอันกลมกลืนมั่นคง

» ทิวธงมงคลชัย
สิ่งสะท้อนความคิด และสืบทอดคติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ของชนรุ่นแล้วรุ่นเล่า จากยุคสมัยหนึ่งสู่อีกยุคสมัยหนึ่ง ดุจตัวแทนที่น้อมนำสู่มงคลแห่งชีวิต

» พระราชลัญจกรประจำรัชกาล
ตราประจำพระมหากษัตริย์ แต่ละรัชกาล ซึ่งจะทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อเริ่มต้นรัชกาล เพื่อประทับกำกับพระปรมาภิไธย ในเอกสารสำคัญต่างๆของชาติ ที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน

» สามล้อไทย
วิถีหนึ่งของสายทาง ซึ่งแม้เวลาจะหมุนเวียนเปลี่ยนไป หากสายทางของสามล้อยังคงผูกพัน เป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย

» กีฬาสัตว์
ด้วยนิสัยช่างสังเกตของคนไทย จึงเป็นที่มาของกีฬาซึ่งใช้สัตว์เป็นผู้แข่งขัน จนกลายเป็นกิจกรรมบันเทิงพื้นบ้าน ยามว่างนับแต่อดีต

» ตาลปัตร พัดรอง
พัดที่ทำจากใบตาลมีหลายรูปแบบ สำหรับใช้โบกให้ความเย็น และใช้เป็นการบ่งบอกถึงฐานะ บรรดาศักดิ์ของผู้ใช้