ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม >>
สาเหตุที่มนุษย์มีการแต่งกายแตกต่างกัน
การแต่งกายไทยตามสมัยประวัติศาสตร์และโบราณคดี
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เสื้อผ้าในแต่ละยุคสมัย
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของการใช้เครื่องประดับในแต่ละยุคสมัย
การแต่งกายของชาวเขาในประเทศไทย
การแต่งกายชาวเอเซีย
การแต่งกายชาวตะวันออกกลางและยุโรป
การแต่งกายของยุโรปตอนเหนือ
แนวความคิดในการออกแบบเครืองแต่งกายจากสมัยต่าง ๆ
การแต่งกายสมัยรัตนโกสินทร์
การแต่งกายสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2468 2477) ระยะ 9 ปี
สตรีไทยสมัยนี้แต่งกายแบบตะวันตกมากขึ้น เลิกนุ่งโจงกระเบน นุ่งซิ่นแค่เข่า สวมเสื้อ
ทรงกระบอกตัวยาวคลุมสะโพก ไม่มีแขน จะเป็นเอกลักษณ์ของสมัยนี้ ไว้ผมสั้น ดัดลอน นิยมดัดผม
มากขึ้น ชายนิยมนุ่งกางเกงแบบสีต่าง ๆ เช่นเดียวกับผ้าม่วง ข้าราชการนุ่งผ้าม่วงสีน้ำเงิน
เสื้อ
ราชปะแตน สวมถุงเท้า รองเท้า สวมหมวกสักหลากมีปีกหรือหมวกกะโล่ ราษฎรยังคงนุ่งโจงกระเบน
สวมเสื้อธรรมดา ไม่สวมรองเท้า ใน พ.ศ. 2475 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นการสิ้นสุด
ระบบสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นการปกครองระบบประชาธิปไตย คนไทยสนใจกับอารยธรรม
ตะวันตกอย่างเต็มที่ การแต่งกายมีการเลียนแบบฝรั่งมากขึ้น ให้นุ่งกางเกงขายาวแทนการนุ่งผ้าม่วง
อย่างไรก็ตามอิทธิพลการแต่งกายแบบตะวันตกจะเข้าครอบคลุมเฉพาะชนบางกลุ่ม
สามัญชนทั่วไปยังคงแต่งกายตามประเพณีเดิมคือ ชายสวมกางเกงแพรหรือสวมกางเกงสามส่วน
เรียกว่ากางเกงไทย ใส่เสื้อธรรมดา ไม่สวมรองเท้า สตรีสวมเสื้อคอกระเช้าเก็บชายเสื้อไว้ในผ้าซิ่น
หรือโจงกระเบน ออกนอกบ้านจึงแต่งสุภาพ
การแต่งกายสมัยรัชกาลที่ 7
รัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2394 2411 ระยะ 17 ปี
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
กลางสมัยรัชกาลที่ 5
ปลายรัชกาลที่ 5
สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน
เครื่องแต่งกายสำหรับงานพระราชพิธีหรือรัฐพิธี