ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
พระวินัยปิฎก
พระสุตตันตปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก
พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
เล่มที่ ๑๒
ชื่อมัชนิกาย มูลปัณณาสก์ เป็นสุตตันตะปิฎกเล่มที่ ๔
๑๒ ชื่อมัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์(เป็นสุตตันตปิฎก)
๑๘ . มธุปิณฑิกสูตร สูตรว่าด้วยธรรมะที่น่าพอใจเหมือนขนมหวาน
๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ นิโครธาราม ใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ ตรัสตอบคำถามของทัณฑปาณิศากยะ ที่ว่า ทรงมีวาทะอย่างไร ตรัสบอกอย่างไร โดยทรงชี้ไปว่า ทรงมีวาทะและตรัสบอกในทางที่จะไม่ทะเลาะกับใคร ๆ ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก และในทางที่สัญญา ( ความกำหนดหมายด้วยกิเลส - กิเลสสัญญา - อรรถกถา ) จะไม่แฝงตัวตาม. บุคคลผู้อยู่อย่างไม่ประกอบด้วยกาม ผู้ลอยบาป ผู้สิ้นความสงสัย รังเกียจ ปราศจากความทะยานอยากในภพน้อยใหญ่.
๒. ทรงเล่าเรื่องข้างต้นให้ภิกษุทั้งหลายฟัง เมื่อภิกษุรูปหนึ่งขอให้ทรงอธิบาย ก็ทรงอธิบายอย่างย่อ ๆ ภิกษุทั้งหลายจึงไปหาพระมหากัจจานเถระให้อธิบายโดละเอียด พระเถระจึงอธิบายขยายความของพระพุทธภิตสั้น ๆ ที่ว่า ส่วนแห่งความกำหนดหมายกิเลสเป็นเหตุให้เนิ่นช้า ( ปปัญจสัญญาสังขา . ) ย่อมครอบงำบุรุษเพราะเหตุใด ถ้าไม่เพลิดเพลิน ไม่ยึดถือ ในเหตุนั้น ( อายตนะ ๑๒ ) ได้ นั้นแหละเป็นที่สุดแห่งกิเลสที่แฝงอยู่ ( อนุสัย ๗ กิเลสที่นอนซ่อนอยู่ในสันดาน ), นั้นแหละ เป็นที่สุดแห่งการจับท่อนไม้ ศัสตราการทะเลาะ การชี้หน้าด่าทอ การส่อเสียด การพูดปด โดยขยายความแสดงลำดับธรรมะ ดังนี้
๑.
อาศัยอายตนะภายในอายตนะภายนอก
เกิดความรู้แจ้งอารมณ์
เรียกว่าวิญญาณ
๒ . รวมธรรม ๓ ประการ
คืออายตนะภายใน อายตนะภายนอก
และวิญญาณ เรียกว่าผัสสะ (
ความถูกต้อง )
๓.
เพราะผัสสะเป็นปัจจัยจึงเกิดเวทนา
( คือความรู้สึกทุกข์
ไม่ทุกข์ไม่สุข )
๔. รู้สึกอารมณ์ใด
ก็จำอารมณ์นั้นได้ (
มีเวทนาก็มีสัญญา )
๕. จำอารมณ์ใดได้
ก็ตรึกถึงอารมณ์นั้น (
มีสัญญาก็มีวิตก )
๖. ตรึกอารมณ์ใด
ก็เนิ่นช้าอยู่กับอารมณ์นั้น
๗. เนิ่นช้าอยู่กับอารมณ์ใด
ส่วนแห่งความกำหนดหมายกิเลสเป็นเหตุให้เนิ่นช้าในรูปที่พึงรู้ได้ด้วยตา
เป็นต้น ที่เป็นอดีต , อนาคต,
ปัจจุบัน ย่อมครอบงำเขา
เพราะเหตุนั้น.
๘. เมื่อมีอายตนะภายใน
มีอายตนะภายนอก มีวิญญาณ
ก็มีฐานะที่จักบัญญัติผัสสะได้ ,
เมื่อมีการบัญญัติผัสสะ
ก็มีฐานะที่จักบัญญัติเวทนาได้ ,
เมื่อมีการบัญญัติเวทนา
ก็มีฐานะที่จักบัญญัติวิตก (
ความตรึก ) ได้,
เมื่อมีการบัญญัติวิตก
ก็มีฐานะที่จักบัญญัติการครอบงำของส่วนแห่งความกำหนดหมายกิเลสเป็นเหตุให้เนิ่นช้า.
๓ . พระผู้มีพระภาคทรงทราบก็ทรงอนุโมทนาว่า ถ้าพระองค์ทรงอธิบาย ก็จักตรัสอธิบาย เข่นเดียวกับพระมหากัจจานะ พระอานนท์ กราบทูลสรรเสริญคำอธิบายนี้ว่า เหมือนคนหิวกระหายอ่อนกำลังได้ขนมหวาน จึงตรัสให้เรียกธรรมปริยายนี้ว่า มธุปิณฑิกปริยาย ( บรรยายที่เปรียบเหมือนขนมหวาน).
- สูตรว่าด้วยเรื่องราวอันเป็นมูลแห่งธรรมทั้งปวง
- สูตรว่าด้วยการสำรวมระวังอาสวะทุกชนิด
- สูตรว่าด้วยผู้รับมรดกธรรม
- สูตรว่าด้วยความกลัวและสิ่งที่กลัว
- สูตรว่าด้วยบุคคลผู้ไม่มีกิเลส
- สูตรว่าด้วยความหวังของภิกษุ
- สูตรอุปมาด้วยผ้าที่ย้อมสี
- สูตรว่าด้วยการขัดเกลากิเลส
- สูตรว่าด้วยความเห็นชอบ
- สูตรว่าด้วยการตั้งสติ ๔ ประการ
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทเล็ก
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรเล็ก
- อนุมานสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- เจโตขีลสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- สูตรว่าด้วยการอยู่ป่าของภิกษุ
- สูตรว่าด้วยธรรมะที่น่าพอใจเหมือนขนมหวาน
- สูตรว่าด้วยความตรึกสองทาง
- สูตรว่าด้วยที่ตั้งของความตรึกหรือความคิด
- สูตรว่าด้วยเปรียบด้วยเลื่อย
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยงูพิษ
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยจอมปลวก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรถ ๗ ผลัด
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยเหยื่อหรืออาหารสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยบ่วงดักสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรเล็ก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยคำสอนในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวบ้านสาละ
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวเมืองเวรัญชา
- สูตรว่าด้วยมหาเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยการสมาทานธรรมะ
- สูตรว่าด้วยภิกษุผู้พิจารณาสอบสวน
- สูตรว่าด้วยภิกษุชาวกรุงโกสัมพี
- สูตรว่าด้วยการเชื่อเชิญของพรหม
- สูตรว่าด้วยมารถูกคุกคาม
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕