ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
พระวินัยปิฎก
พระสุตตันตปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก
พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
เล่มที่ ๑๒
ชื่อมัชนิกาย มูลปัณณาสก์ เป็นสุตตันตะปิฎกเล่มที่ ๔
๑๒ ชื่อมัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์(เป็นสุตตันตปิฎก)
สูตรที่ ๑ ถึงที่ ๑๐ เรียกมูลปริยายวรรค คือวรรคที่นำด้วยมูลปริยายสูตร
สูตรว่าด้วยเรื่องราวอันเป็นมูลแห่งธรรมทั้งปวง
พระผู้มีพระภาคประทับ ณ โคนไม้สาละใหญ่ ในป่าชื่อสุภคะ ( ป่าโชคดี ) ใกล้เมืองอุกกัฏฐา ณ ที่นั้นได้ทรงแสดงเรื่องราวอันเป็นมูลแห่งธรรมทั้งปวง ( สัพพธัมมมูลปริยาย ) มีใจความสำคัญแบ่งออกเป็น ๘ ส่วน หรือ ๘ นัย เนื่องด้วยปุถุชน ( คนที่ยังหนาไปด้วยกิเลส ) ๑ นัย เนื่องด้วยเสขะ ( พระอริยบุคคลผู้ยังศึกษา หมายถึงพระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี ) ๑ นัย เนื่องด้วยพระขีณาสพ ( พระอรหันต์ ผู้สิ้นอาสวะคือกิเลสที่ดองสันดาน ) ๔ นัย เนื่องด้วยพระศาสดา ๒ นัย. ( เมื่อกล่าวถึงบุคคลผู้เกี่ยวข้องแท้ ๆ ก็มี เพียง ๔ ประเภท ).
๑. ปุถุชนผู้มิได้สดับ ย่อมรู้ตามความจำ ( สญฺชานาติ ) ถึงสิ่งต่าง ๆ. แล้วยึดถือว่าเป็นของเราเพราะไม่ได้กำหนดรู้ตามเป็นจริงซึ่งสิ่งนั้น ๆ. นี้เป็นกำหนดภูมิปุถุชนนัยที่ ๑ .
๒. ภิกษุผู้เป็นเสขะ รู้ยิ่งด้วยปัญญา ( อภิชานาติ ) ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เพลา. การยึดถือว่าเป็นของเรา เพราะสิ่งนั้น ๆ พระเสขะควรกำหนดรู้ได้. นี้เป็นกำหนดภูมิพระเสขะนัยที่ ๒.
๓. ภิกษุผู้เป็นพระอรหันต์ขีณาสพ รู้ยิ่งด้วยปัญญาซึ่งสิ่งต่าง ๆ ย่อมไม่ถือว่าเป็นของเรา
๑ .
เพราะกำหนดสิ่งนั้น ๆ แล้ว
๒ .
เพราะสิ้นราคะความกำหนัดยินดี
๓.
เพราะความสิ้นโทสะความคิดประทุษร้าย
๔. เพราะสิ้นโมหะความหลง
นี้เป็นกำหนดภูมิพระขีณาสพนัยที่
๓ , ๔ , ๕ และ ๖.
๔. พระศาสดา รู้ยิ่งด้วยปัญญาซึ่งสิ่งต่าง ๆ ไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา
๑.
เพราะกำหนดรู้ในสิ่งนั้น ๆ แล้ว
๒.
เพราะสิ้นตัญหาด้วยประการทั้งปวง
ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว.
นี้เป็นกำหนดภูมิพระศาสดานัยที่ ๗ และ ๘.
- สูตรว่าด้วยเรื่องราวอันเป็นมูลแห่งธรรมทั้งปวง
- สูตรว่าด้วยการสำรวมระวังอาสวะทุกชนิด
- สูตรว่าด้วยผู้รับมรดกธรรม
- สูตรว่าด้วยความกลัวและสิ่งที่กลัว
- สูตรว่าด้วยบุคคลผู้ไม่มีกิเลส
- สูตรว่าด้วยความหวังของภิกษุ
- สูตรอุปมาด้วยผ้าที่ย้อมสี
- สูตรว่าด้วยการขัดเกลากิเลส
- สูตรว่าด้วยความเห็นชอบ
- สูตรว่าด้วยการตั้งสติ ๔ ประการ
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทเล็ก
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรเล็ก
- อนุมานสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- เจโตขีลสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- สูตรว่าด้วยการอยู่ป่าของภิกษุ
- สูตรว่าด้วยธรรมะที่น่าพอใจเหมือนขนมหวาน
- สูตรว่าด้วยความตรึกสองทาง
- สูตรว่าด้วยที่ตั้งของความตรึกหรือความคิด
- สูตรว่าด้วยเปรียบด้วยเลื่อย
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยงูพิษ
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยจอมปลวก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรถ ๗ ผลัด
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยเหยื่อหรืออาหารสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยบ่วงดักสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรเล็ก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยคำสอนในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวบ้านสาละ
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวเมืองเวรัญชา
- สูตรว่าด้วยมหาเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยการสมาทานธรรมะ
- สูตรว่าด้วยภิกษุผู้พิจารณาสอบสวน
- สูตรว่าด้วยภิกษุชาวกรุงโกสัมพี
- สูตรว่าด้วยการเชื่อเชิญของพรหม
- สูตรว่าด้วยมารถูกคุกคาม
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕