ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier

ซึ่งบริษัท Cartier ในยุโรปและเทศสหรัฐอเมริกาทำสัญญาทางการค้าทางด้านการผลิตเครื่องประดับกับนักออกแบบเครื่องประดับ โดยมีข้าราชการชั้นสูงสนับสนุน และทำการพัฒนาอุตสาหกรรมแนวใหม่เพื่อยกระดับคนชนชั้นกลาง ในปียุค 1940 ประสบความสำเร็จเป็นอย่างยิ่งไม่ว่าจะเป็นการฝังหินแนวใหม่ การออกแบบที่สูญเสียน้อยที่สุด โดยไม่ให้เกิดมลพิษ และทักษะในการผลิตที่ฝึกให้มีความชำนาญ และสุดท้ายต้องศึกษาทางด้านการค้า โดยเฉพาะการค้าระหว่างประเทศ จึงทำให้ Cartier เป็นนักออกแบบทางด้านเครื่องประดับของโลก ถึงแม้ว่านักออกแบบเครื่องประดับจะหายไปบ้างในช่วงสงครามโลก แต่ Cartier ก็สามารถครองใจตลาดได้อย่างชาญฉลาดและมีคุณภาพที่มาตรฐาน ครอบครัว Cartier มีบุตรชาย 3 คน ได้แก่ นาย Louis Cartier นาย Pierre Cartier และนาย Jacques Cartier ทั้งสามคนทำให้กิจการ Cartier ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยออกแบบได้ตามแฟชั่น ตามแนวโน้มรสนิยมของโลก และสนุกกับการเป็นต้นแบบแฟชั่นทางด้านเครื่องประดับ

เครื่องประดับของ Cartier มักมีแรงบันดาลใจมาจากประวัติศาสตร์ ชอบสร้างผลงานที่เป็นเพชร เพื่อตอบสนองของคนชั้นกลาง โดยการใช้เพชรของบริษัท De Beers ทำให้ Cartier ผลิตผลงานเครื่องประดับที่มีการตกแต่งด้วยวัสดุมีค่าทั้งหมด

หลังจากที่สงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ผ่านไป สังคมได้นิยมในการสูบบุหรี่ ส่วนผู้หญิงได้มีการแต่งหน้าในยุคนี้ และมีการตกแต่งเครื่องประดับเท่าที่จำเป็น จัดเป็นการแต่งกายที่มีรูปแบบใหม่ รวมทั้งเครื่องประดับในยุคนี้จึงได้เปลี่ยนรูปแบบใหม่ด้วยเช่นกัน ส่วนการออกแบบของ Cartier ได้มีรูปแบบใหม่ด้วยเช่นกัน และผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองบทบาทใหม่ของผู้หญิงได้เป็นอย่างดี เช่น ผลิตกล่องใส่บุหรี่ มีดตัดบุหรี่ หวี แปรง โต๊ะ สิ่งเหล่านี้ได้ประสอบความสำเร็จเป็นอย่างมากและสิ่งของเหล่านี้มีตัวย่อว่า s โดยเป็นสิ่งของที่เน้นประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก

เมื่อมาถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวยุโรปต่างได้หยุดการบริโภคเครื่องประดับของชนชั้นสูง และถือเป็นการสิ้นสุดศิลปะรูปแบบอาร์ตเดโคด้วย ในช่วงนี้หลายกิจการต้องหยุดชะงักลง รวมทั้งเครื่องประดับของ Cartier ที่ไม่ปรากฏเครื่องประดับเพื่อขายในระดับนานาชาติช่วงนี้

ในปี ค.ศ.1973 Cartier ได้เปลี่ยนรูปแบบโดยทำการผลิตแบบมวลรวมแบบชัดเจน โดยออกในนามของ Les Must de Cartier เพื่อที่จะขายออกไปได้ทั่วโลกอย่างมาตรฐานเดียวกัน จึงทำให้เครื่องประดับของ Cartier มีคุณภาพและยังเป็นที่ต้องการมาจนถึงปัจจุบัน

 

ลักษณะต้นแบบโบราณ
ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ
ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่
ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ
ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)
ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง
ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่
ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)
ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)
ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)
ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)
ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)
ยุค Princes
ยุควัฒนธรรม La Tene
ยุคขยายอาณาจักร
ยุคอิทธิพลของนักรบ
ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)
ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)
ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์
ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง
ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)
ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)
นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini
การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม
ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1
ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)
การประดิษฐ์ตกแต่ง
ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค
ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค
ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)
ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)
ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)
ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19
ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม
นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany
ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)
ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1
นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura
ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930
นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940
บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier
บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg
บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960
นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980
ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990
ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่
ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)
ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ
ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

ข้อเขียน-บทความ »

» จินตนา แก้วขาว กราบเธอที่ดวงใจ
» ทะริด ตะนาวศรี คนไทยที่ถูกลืม
» ปู่เย็น ณ สะพานลำใย แห่งลุ่มแม่น้ำเพชรบุรี

» จอมยุทธ แห่งบ้านจอมยุทธ (รวมงานเขียน)
» ฉายเดี่ยว (รวมงานเขียน)
» งูเขียว หางบอบช้ำ (รวมงานเขียน)

» ตีหัวเข้าบ้าน ตะคอกโลก ตีหัวหมา
» ผายลมนี้มีผลย้อนหลัง
» ได้แต่หวังว่า เราจะอยู่ร่วมกันได้บนโลกที่เปรียบเสมือนบ้านของเราใบนี้ ด้วยความรู้สึกที่ดีประดุจดั่งกินข้าวจากหม้อเดียวกัน

» ขอเป็นตาแก่ขี้บ่นในหัวใจเธอ
» เมื่อคนขับรถปลอมตัวไปเล่นหุ้น (บันทึกการเล่นสด)

นิยาย-เรื่องสั้น »

» ตำนานบันลือโลก
» บันทึกทรราชย์
» ผมเกือบได้เป็นนักแต่งเพลงชื่อดังเสียแล้ว
» ชีวิตเริ่มต้นอีกครั้งหลังเกษียณ
» แสนยานุภาพแห่งการรอคอย